Page 87 - แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
P. 87

บาท และจ่ายให้สหกรณ์ออมทรัพย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ ากัด จ านวน 70,537,401.12 บาท สหกรณ์มีผลขาดทุนจากการ
                 จ าหน่ายเงินลงทุน จ านวน 87,841,500.00 บาท

                        6) ข้อบกพร่องของสหกรณ์  (ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีบัญชีล่าสุด)
                               - ประธานและผู้ที่เกี่ยวข้องมีการทุจริตเกี่ยวกับเงินกู้ยืม

                                  ู
                   ผลการวิเคราะห์ขอมลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
                                ้
                        จากข้อมูลพื้นฐาน และสภาพแวดล้อมของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
              ได้ ดังนี้
                        1. ด้านบุคลากร (Man)   สมาชิก / คณะกรรมการ / ฝ่ายจัดการและเจ้าหน้าที่

                               - สหกรณ์มีสมาชิกคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2562 มีจ านวน 12,410 คน
                               - สหกรณ์ได้จัดจ้างเจ้าหน้าที่มาปฏิบัติงานในสหกรณ์
                        2. ด้านการบริหารเงินทุน (Money)

                               - ความพอเพยงของเงินทุน สหกรณ์มีทุนด าเนินงานทั้งสิ้น จ านวน 1,014,488,252.30 บาท ทุนด าเนินงาน
                                        ี
              ดังกล่าวส่วนใหญ่มาจากแหล่งเงินทุนภายใน ร้อยละ 57.37 ประกอบด้วย เงินรับฝากจากสมาชิก ร้อยละ 41.39 ทุนของสหกรณ์
                                                                         ี
                                                  ื่
              ร้อยละ 41.39 ทุของสหกรณ์ร้อยละ 15.36 และอน ๆ ร้อยละ 0.62 ส่วนที่เหลืออก ร้อยละ42.63 มาจากแหล่งเงินทุนภายนอกซึ่ง
                                       ื่
                                                                                                        ื่
              ได้มาจากเงินรับฝากจากสหกรณ์อน ร้อยละ 17.26 เงินกู้ยืมร้อยละ 0.21 เจ้าหนี้ตามค าพพากษา ร้อยละ 21.33 และหนี้สินอน ๆ
                                                                               ิ
                                                     ี
              ร้อนละ 3.83 หากพิจารณาถึงความเข้มแข็ง และความเพยงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยงแล้ว เจ้าหนี้มีความเสี่ยง เนื่องจากสหกรณ์มี
                                                                           ี
                                                                                       ั
              ยอดขาดทุนสะสมคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2562 จ านวน 692,251,717.71 บาท อกทั้งสหกรณ์มีอตราส่วนหนี้สินทั้งสิ้นต่อทุน
                                                                                                ั
              5.51 เท่า ปีก่อน 3.27 เท่า ทุนของสหกรณ์ไม่สามารถคุ้มครองหนี้สินทั้งหมดได้ สหกรณ์ควรระมัดระวังความเสี่ยงอนเกิดจากการที่
              ผู้ฝากเงินถอนเงินในคราวเดียวกันเป็นจ านวนมากอาจท าให้สหกรณ์ขาดสภาพคล่อง
                               - คุณภาพของสินทรัพย์ สหกรณ์ได้น าทุนด าเนินงานของสหกรณ์ที่มีอยู่ไปลงทุนในเงินกู้ยืมร้อยละ 20.53
              ซึ่งเป็นส่วนของเงินให้กู้ยืมระยะสั้นสุทธิ ร้อยละ 19.73 ลูกหนี้อื่น-สุทธิ ร้อยละ 38.02 เงินให้กู้ยืมระยะยาว ร้อยละ 0.79 ที่ดินแทน
              การช าระหนี้รอจ าหน่าย ร้อยละ  25.48 เงินลงทุนระยะยาวร้อยละ  0.48 ดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับสุทธิ ร้อยละ 11.94 ที่ดิน อาคาร

                                                            ื่
                                                                                                   ื่
              และอปกรณ์สุทธิ ร้อยละ 2.20 และส่วนที่เหลือเป็นสินทรัพย์อน ๆ สหกรณ์ได้น าสินทรัพย์ไปใช้ในการด าเนินงาน เพอก่อให้เกิด
                  ุ
              รายได้ 0.04 รอบ ต่อปี 0.03 รอบ สหกรณ์ควรหาแนวทางในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ที่มีอยู่ให้มากขึ้นและเกิดผลตอบแทน
              สูงสุด
                                                  ั
                               - สภาพคล่อง สหกรณ์มีอตราส่วนทุนหมุนเวียน 1.16 เท่า ปีก่อน 1.09 เท่า จะเห็นได้ว่าสหกรณ์มีสภาพ
              คล่องทางการเงินอยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้นจากปีก่อน อย่างไรก็ตามสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่ของสหกรณ์ของสหกรณ์เป็นเงินให้กู้ยืม

              และลูกหนี้ แต่แหล่งเงินทุนที่สหกรณ์น ามาให้สินเชื่อกับสมาชิก ส่วนใหญ่มาจากเงินรับฝาก ซึ่งเป็นหนี้สินระยะสั้นจ านวนมาก
                                            ึ้
              ดังนั้น ภาพคล่องทางการเงินของสหกรณ์ขนอยู่กับประสิทธิภาพในการบริหารลูกหนี้เป็นส าคัญ
                        3. ด้านวัตถุดิบ* (Material) เครื่องจักรและอปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์
                                                         ุ
                                                    ิ
                               - สหกรณ์น าโปรแกรมคอมพวเตอร์ซึ่งพฒนาโดยบริษัทเอกชนมาใช้ในการประมวลข้อมูลด้านทุนเรือนหุ้น
                                                            ั
              ลูกหนี้ เงินรับฝาก รวมทั้งการจัดท าบัญชีแยกประเภท โปรแกรมระบบบัญชีที่สหกรณ์ใช้เหมาะสมกับลักษณะธุรกิจและการ
              ด าเนินงาน การควบคุมภายในส าหรับการใช้โปรแกรมระบบงานส่วนใหญ่เป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยมาตรฐาน

                                                                                                       ิ
              ขั้นต่ าในการควบคุมภายในและการรักษาความปลอดภัย ส าหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ใช้โปรแกรมระบบบัญชีคอมพวเตอร์
              ประมวลผลข้อมูล พ.ศ. 2553

                        4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการด าเนินธุรกิจ(Method)
                               - ขีดความสามารถในการบริหาร ณ วันสิ้นปี สหกรณ์มีสมาชิก 12,410 คน
                               -  สหกรณ์ด าเนินธุรกิจ 2 ด้าน รวมทั้งสิ้น 161,496,418.57 บาท ประกอบด้วย การให้สินเชื่อแก่สมาชิก
              จ านวน 1,337,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.83 และเงินรับฝากจ านวน 160,159,418.57 บาท คิดเป็นร้อยละ 99.17 การ

              บริหารธุรกิจแต่ละด้านสรุปได้ ดังนี้

                             Template แผนการแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564   87
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92