Page 15 - หนังสื่อม.6
P. 15

15


               3.1 การค านึงถึงความเหมาะสมในการเผยแพร่ข้อมูล



               การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในปัจจุบันมีการน าระบบสารสนเทศและการสื่อสารมาประยุกต์ ใช้ประกอบการ
               ท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์อย่างแพร่หลาย ซึ่งอาจต้องมีการรวบรวม จัดเก็บ ใช้ หรือเผยแพร่ข้อมูลส่วน

                                                           ื่
               บุคคลของผู้ใช้บริการในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพอเป็นการป้องกัน การละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งเป็น
                                                                                ื่
               สิทธิขั้นพื้นฐานส าคัญในความเป็นส่วนตัวของมนุษย์ที่ต้อง ได้รับการคุ้มครองเพอจะท าให้มนุษย์มีความมั่นใจ
               ในการท าธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งความเป็น ส่วนตัวนั้นเป็นสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานของ มนุษย์ที่สังคม
               ยุคใหม่เกอบทุกประเทศให้ความ ส าคัญเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากการรับรอง หลักการดังกล่าวไว้ใน
                       ื
               รัฐธรรมนูญ หรือแม้บาง ประเทศจะไม่ได้บัญญัติรับรองไว้โดยตรงใน รัฐธรรมนูญ แต่ได้ตราบทบัญญัติรับรอง

               ไว้ใน กฎหมายเฉพาะ ในประเทศไทยได้มีการกล่าว ถึงข้อมูลส่วนบุคคลอันเป็นสิทธิมนุษยชนชั้น พื้นฐานอย่าง
               กว้างขวาง เช่น รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550


                   -  มาตรา 4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล ย่อมได้รับความ
                       คุ้มครอง

                   -  มาตรา 35 สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง ตลอดจนความเป็นอยู่ ส่วนตัวย่อมได้รับ
                       ความคุ้มครอง การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซึ่งขอความหรือ ภาพไม่ว่าด้วยวิธีใดเป็นการละเมิด
                                                               ้
                                                                                                       ิ
                       หรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตัวจะกระท ามได้
                       เว้นแต่กรณีที่เป็นประโยชน์ ต่อสาธารณะ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากการแสวง
                                            ้
                       ประโยชน์โดยมิชอบ จากขอมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ

                   1. ความเป็นส่วนตัว (Privacy) ในบรรดาสิทธิที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนทั้งหมดนั้น ความเป็นส่วนตัว
                   นับเป็นสิทธิลักษณะหนึ่งที่ยากที่สุดในการบัญญัติความหมาย เพราะต้องพิจารณา ทั้งเนื้อหา สภาพสังคม

                   วัฒนธรรม และพฤติการณ์แวดล้อมประกอบด้วย ในบางประเทศแนวคิด ของความเป็นส่วนตัวได้รวมถึง
                   การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล อย่างไรก็ตามความเป็นส่วนตัว เป็นค าทมีความหมายกว้างและครอบคลุม
                                                                            ี่
                   ถึงสิทธิต่าง ๆ หลายประการ เช่น


                   ความเป็นส่วนตัวเกี่ยวกับข้อมูล (Data Privacy) เป็นการให้ความคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล โดยการวาง
                                        ็
                   หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการเกบรวบรวมและการบริหารจัดการ ข้อมูลส่วนบุคคล

                   • ความเป็นส่วนตัวในชีวิตร่างกาย (Bodily Privacy) เป็นการให้ความคุ้มครองในชีวิต ร่างกายของบุคคล
                   ในทางกายภาพ ที่จะไม่ถูกด าเนินการใด ๆ อันละเมิดความเป็นส่วนตัว เช่น การทดลองทางพันธุกรรม

                   การทดลองยา
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20