Page 26 - หนังสื่อม.6
P. 26
26
4.4 กฎหมายคุ้มครองเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นถือเป็นเสรีภาพขั้นพื้นฐานตามกติการะหว่างประเทศด้วยสิทธิพลเมืองและ
สิทธิทางการเมือง ซึ่งให้การรับรองและคุ้มครองไว้ในฐานะสิทธิขั้นพื้นฐาน และบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทยทุกฉบับ เนื่องจากเสรีภาพในการแสดง ความคิดเห็นสะท้อนถึงธรรมาภิบาลและความเป็น
ประชาธิปไตยของประเทศหรือองค์กรนั้น ๆ เพราะผู้ปกครองที่เปิดใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็น การ
วิพากษ์วิจารณ์จากประชาชนหรือคนในองค์กรทั้ง ด้านบวกและด้านลบนั้น ย่อมเป็นโอกาสในการน าไป
ปรับปรุงประเทศ องค์กร และตนเองให้ดียิ่งขึ้น
ึ
การแสดงความคิดเห็นใดจะต้องพงระวังให้การแสดงความคิดเห็นเป็นไปโดยชอบตาม บทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และกติการะหว่างประเทศ ว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ
ุ้
ทางการเมือง ซึ่งให้การรับรองและคมครองไว้ในฐานะสิทธิขั้นพื้นฐาน โดยค านึงว่าความคิดเห็นที่แสดงออกไป
นั้น โดยเฉพาะที่แสดงผ่านทางเว็บไซต์ควรงดเว้นการใช้ ค าหยาบคาย ส่อเสียด ดูหมิ่น กล่าวหาให้ร้าย สร้าง
ความแตกแยก หรือกระทบถึงสถาบัน อันเป็นที่เคารพและตระหนักถงบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติว่าด้วย
ึ
การกระท าความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14 ผู้ใดกระท าความผิดที่ระบุไว้ ดังต่อไปนี้
• น าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอมไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน หรือ ข้อมูลคอมพิวเตอร์
อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน
- น าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความ เสียหายต่อความ
มั่นคงของประเทศ หรือกอให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
่
• น าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคงแห่ง
ราชอาณาจักร หรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา
- น าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามก และข้อมูล คอมพิวเตอร์นั้น
ึ
ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถงได้
- เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งขอมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามข้อ 1 หรือข้อ 4 มีโทษ คือ
้
ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินค้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ
ดังนั้น การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทางเว็บไซด์จะต้องค านึงถึงประเด็นดังกล่าว ด้วย เนื่องจาก
เกี่ยวข้องกับเรื่องของการเผยแพร่ นอกจากดูเรื่องกฎหมายตามรัฐธรรมนูญแล้ว ยังต้องดูเรื่องของกฎหมายอื่น
ประกอบด้วย เช่น เรื่องการละเมิดถึงบุคคลที่สาม กฎหมาย เกี่ยวกับการน าเสนอสื่อในระบบสารสนเทศ
กฎหมายอินเทอร์เน็ต ซึ่งต้องระมัดระวัง กล่าวคือ บางกรณีอาจจะไปเข้าหลักเกณฑ์ในกฎหมายลูกบางฉบับ
เพราะ การเผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต โอกาสที่บุคคลจะถูกพาดพิง หรือกล่าวหาจะมาแก้ต่างนั้นล าบาก
ดังนั้น การปกป้องเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นที่ชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญ และกติการะหว่างประเทศว่าด้วย
สิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมืองซึ่งให้การรับรองและคุ้มครองไว้ในฐานะ สิทธิขั้นพื้นฐาน จึงเป็นสิ่งที่ควร
ช่วยกันปกป้องเพอตนเอง ส่วนรวม และประเทศชาติ
ื่