Page 9 - หนงสอมธยมหก_Neat
P. 9

9


               3) ตั้งชื่อหัวข้อให้มีความน่าสนใจ เมื่อได้แนวคิดที่จะเขียนแล้ว สิ่งส าคัญต่อมา คือ การตั้งชื่อบทความ ซึ่งปกติ

               แล้วหลักส าคัญของการตั้งชื่อบทความมีอยู่ด้วยกัน 2 หลัก คือ เพื่อให้คนที่เห็นเกิดความรู้สึกน่าสนใจ อยาก
               คลิกเข้ามาอ่าน และเพื่อให้ง่ายต่อการสืบค้นของ

               โปรแกรม (Search Engine Optimization) ดังนั้น ในการตั้งชื่อบทความในบล็อกต้องอาศัย หลักที่ว่านี้ควบคู่

                                                                                        ี
               กันไป ยกตัวอย่างบทความ ง่าย ๆ เช่น การเขียนบล็อก การเขียนบทความ เทคนิดการเขยนบล็อก การเขียน
               บทความที่ดี การเขียนบทความให้ประสบความส าเร็จ หรือ 10 เทคนิคของการเขียนบทความ


               4) ก าหนดเค้าโครงของบทความ

               เมื่อได้ชื่อบทความมาแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่จะช่วยให้งานเขียนง่ายขึ้นและช่วยลดระยะเวลาในการ เขียนคือ การ

               ก าหนดเค้าโครง ซึ่งในที่นี้หมายถึง การตัดสินใจเลือกว่าในบทความที่จะเขียนนั้น ควรประกอบด้วยหัวข้อ
               อะไรบ้าง เสมือนเป็นการแบ่งบทความเป็นหัวข้อย่อย ซึ่งการก าหนด หัวข้อหรือหัวเรื่องให้กับบทความนั้น
               นอกจากจะท าให้เราประหยัดเวลาในการเขียนแล้ว ยังช่วย ท าให้ง่ายต่อการอ่านอีกด้วย ตัวอย่างการก าหนด

               เค้าโครงของบทความ

               5) เขื่อนบทน า บทน าส าหรับการเขียนบล็อกที่ดีควรมีความยาวประมาณ 2-3 บรรทัด โดยอธิบายถึงภาพรวม

               คร่าว ๆ ของเนื้อหาในบทความนั้น โดยสอดแทรกข้อความที่ชวนให้ผู้อ่าน เกิดความรู้สึกน่าสนใจ น่าค้นหา
               ชวนให้ ติดตาม ซึ่งลักษณะของบทน่าจะเป็นส่วนที่อยู่ ในตอนต้นของบทความที่จะบอกให้ผู้อ่าน ทราบว่า

               บทความนี้มีเนื้อหาที่เขียนเกี่ยวกับ เรื่องอะไร ซึ่งส่วนนี้มักจะเป็นการอธิบาย ความหมายและความส าคัญของ
               ชื่อเรื่องให้ เข้าใจได้ง่าย มีความน่าอ่าน สามารถทราบถึง หัวข้อหลักและหัวข้อย่อยต่าง ๆ ของหัวข้อนี้ว่า จะ
               สื่อสารหรือให้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดบ้าง


               6) ขนาดของบทความ หากกล่าวถึงเฉพาะการเขียนบทความที่ใช้ส าหรับบล็อกนั้น เมื่อดูจากสถิติของที่มา
                                       ี่
               หลายๆ แห่ง ทั้งจากบล็อกทให้ความรู้ด้านการสืบค้นของโปรแกรม ค้นหา (Search Engine Optimization)
               ของต่างประเทศ รวมถึงจากประสบการณ์การวิเคราะห์ ผลจากหน้าเว็บไซต์กูเกิลที่จะแสดงผลของการค้นหา
               ซึ่งขนาดความยาวของบทความที่ เหมาะสมกับจ านวนค าส าคัญ (Keyword) ที่อยู่ในบทความมีผลกับการถูก

                                             ่
               จัดอันดับ บนโปรแกรมค้นหา แต่ไมได้หมายความว่า บทความที่มีความยาวมากทุกบทความจะเป็น บทความที่
                     ี
               ดีและมคุณภาพ หรือบทความที่สั้น ๆ จะเป็นบทความที่ไม่ดี ซึ่งสิ่งส าคัญที่มากกว่า ขนาดของบทความ คือ
                                                         ั้
               คุณค่าของตัวเนื้อหาว่า มีประโยชน์ต่อคนอ่าน อีกทงมีความสอดคล้อง กับค าค้นหามากน้อยเพยงใด
                                                                                            ี
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14