Page 188 - วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพและบริการ
P. 188

176


               เปลี่ยนแปลงให้ เป็นนิวเคลียสที่มีเสถียรภาพสูงขึ้น รังสีนี้จะถูกปล่อย


               ออกมาจากนิวเคลียสด้วยพลังงานต่าง ๆ กัน


                        รังสีแอลฟา คือ นิวเคลียสของฮีเลียม มีประจุบวก มีโปรตอนและ


               นิวตรอน อย่างละ 2 ตัว มีประจุไฟฟ้า +2 มีเลขมวล 4 มีอํานาจทะลุ


               ทะลวงตํ่ามาก เนื่องจากมีมวลมากจึงเกิดการเบียงเบน  น้อยมาก เมื่อวิ่ง


               ไปชนสิ่งกีดขวางต่าง ๆ เช่น ผิวหนัง แผ่นกระดาษ จะไม่สามารถผ่านทะลุ


               ผ่านไปได้ แต่จะถูกดูดซึมได้อย่างรวดเร็ว แล้วถ่ายทอดพลังงานเกือบ


               ทั้งหมดออกไป ทําให้อิเล็กตรอนของอะตอมที่ ถูกรังสีแอลฟาชนหลุด


               ออกไป เกิดกระบวนการแตกตัวเป็นไอออน รังสีแอลฟาจึงถูกนํามาทํา


               เครื่องวัดควัน

















                           รูปที่ 9.3 แสดงการสลายตัวของสารแล้วให้รังสีแอลฟา


                       2) รังสีบีตา (Beta Ray: 8) เกิดจากการสลายตัวของนิวไคลด์ที่มี


               จํานวนโปรตอนมาก  เดินไปหรือน้อยเกินไป  โดยรังสีบีตาแบ่งได้  2 แบบ


               คือ
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193