Page 122 - แนวการจัดกิจกรรม Active Learning History Thai
P. 122
หมายเลข ๓
กฎมณเฑียรบาล บทที่ ๑๐๖
พระราชอำานาจในการตัดสินคดีความ
๑๐๖
อธิบายความ
�
พระมหากษัตริย์สมัยกรุงศรีอยุธยามีอานาจสูงสุดในการตัดสินคดี แต่พระองค์ก็ยับย้ง
ั
�
พระราชอานาจของตัวเองด้วยการออกกฎหมายว่า ถ้าพระองค์ตัดสินคดีความใดแล้วไม่เป็นธรรม
ั
ั
ไม่ถูกต้องตามกฎหมายประเพณี ให้ขุนนางสามารถทักท้วงได้สามคร้ง ถ้าทักท้วงสามคร้งแล้ว
�
ั
ึ
ี
�
พระมหากษัตริย์อาจยังคงยืนยันคาตัดสินเดิม ซ่งการท่พระองค์ยืนยันคาตัดสินเดิมน้น อาจจะ
เป็นเพราะทรงละอายหรือเสียหน้า ที่ถูกทักท้วงต่อหน้าหมู่ขุนนางจ�านวนมาก
ี
ี
ื
ดังน้น จึงกาหนดให้ขุนนางไปทักท้วงอีกคร้งในท่รโหฐาน (ท่ลับ ไม่ใช่ต่อหน้าผู้อ่น)
ั
ั
�
หากยังทรงยืนยันค�าตัดสินเดิมจึงให้รับค�าตัดสินนั้นไปปฏิบัติ
ที่มา : ประมวลกฎหมาย ตรา ๓ ดวง เล่ม ๑ รัชกาลที่ ๑ จุลศักราช ๑๑๖๖ พิมพ์ตามฉะบับหลวง จัดพิมพ์
โดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (วิชาธรรมศาสตร์และการเมือง) ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
ี
ี
ปฐมกษัตริย์แห่งบรมราชจักรีวงศ์ (รัชกาลท่ ๑) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาระกฎหมายเก่าท่มีมา
�
แต่ครั้งโบราณสมัยอยุธยา แล้วรวบรวมเป็นประมวลกฎหมายขึ้น เมื่อจุลศักราช ๑๑๖๖ ตรงกับ พ.ศ. ๒๓๔๗
แนวการจัดกิจกรรม Active Learning ที่เสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ : 109
ประวัติศาสตร์ชาติไทย