Page 78 - แนวการจัดกิจกรรม Active Learning History Thai
P. 78
หมายเลข ค
รองศาสตราจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม ได้เดินทางสารวจตรวจสอบท่วบริเวณมาก่อน
�
ั
ที่จะมีการสร้าง “เขื่อนพระร่วง” ขึ้นใหม่ แล้วจึงมีค�าอธิบายว่า
ั
ื
“...แต่เดิมเป็นแนวคันดินสูงประมาณ ๑ เมตร ตามเส้นขวางเพ่อให้ตีก้นระหว่าง
ตนเขาพระบาทใหญ่กบเขากวอ้ายม้า ลกษณะเป็นคนดนใช้สกดกนนาทไหลออกจากหบเขา
้
ิ
�
ั
้
ั
ั
ิ
ั
ั
ี
ุ
ี
่
่
้
�
ั
ในโซกพระร่วงไม่ให้กระจายไปทอน แต่บีบนาหลากให้มารวมกน แล้วให้ไหลลงไปตามร่องนา
้
ื
่
ี
�
่
คลองเสาหอแต่เพียงทิศทางเดียวเท่านั้น
ึ
ื
ั
�
ถ้าไม่ทาคันดินสกัดก้นไว้ก่อน เม่อถึงฤดูนาหลากลงมาจากซอกเขาโซกพระร่วง ซ่งม ี
�
้
ปริมาณมากนักหนา มวลนาป่าจะไหลทะลักทะลุทะลวงแผ่กระจายอย่างรวดเร็วและรุนแรง
�
้
ไปท�าลายเรือกสวนไร่นาและวัดวาอารามในบริเวณที่อยู่ต�่าลงไป...”
ภาพจาก http://onceuponarch.blogspot.com
ที่มา ย่อความจาก สุจิตต์ วงษ์เทศ : รัฐสุโขทัย จัดการควบคุมน�้าป่ากักเก็บไว้ใช้ในเมือง
สืบค้นจาก http://www.matichon.co.th/news/๒๖๙๗๘๗ สืบค้นเมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๓
แนวการจัดกิจกรรม Active Learning ที่เสริมสร้างทักษะการคิดวิเคราะห์ : 65
ประวัติศาสตร์ชาติไทย