Page 13 - หนงสอแนวทางพงพาตนเองดวยแหลงนำขนาดเลก_Neat
P. 13
10
2. ร่องเติมน าลงสู่แก้มลิงใต้ดิน
เริ่มต้นปี 2563 ประเทศของเรา นอกจากจะเกิดวิกฤตไวรัสโควิด-19 แล้ว ยังประสบ
กับปัญหาภัยแล้งซ ้าซากอย่างรุนแรงมาหลายปี ดังนั นเพื่อให้ผืนแผ่นดินไทยกลับคืนมาชุ่มน ้าโดยเร็ว เราต้อง
ร่วมกันน้อมน้าเอาศาสตร์พระราชาและภูมิปัญญาไทย มาประยุกต์ใช้อย่างพอเพียงด้วยการเติมน ้าฝนที่ไหล
ผ่านผิวดินลงสู่ร่องดินไปเก็บกักในแก้มลิงใต้ดิน ท้าให้มีปริมาณน ้าสะสมเพิ่มมากขึ นเรื่อย ๆ ทั งนี ควรจัดท้า
ประชาคมและพิจารณาความเหมาะสมในแต่ละพื นที่ด้วย เริ่มต้นโดยใช้รถแบ็คโฮขุดร่องดินมีความกว้าง 1
บุ้งกี๋ ขุดลึกสุดช่วงบูมประมาณ 4 เมตร จากนั นจึงตักดินแล้วใส่กลับลงไปในร่องเดิมที่ขุดโดยไม่ต้องตบ
หรือบดอัดดินให้แน่น
การขุดร่องดินหรือการพรวนดินในระดับลึกจะส่งผลดังนี
- เป็นการตัดชั นดินแข็งคือชั นผิวดิน และตัดความเชื่อมแน่นระหว่างดิน ท้าให้น ้าผิวดิน
ผ่านลงสู่ชั นใต้ดินได้สะดวกยิ่งขึ น
- ช่วยระบายอากาศออกจากชั นใต้ดิน เพื่อให้น ้าผิวดินลงไปแทนที่การเติมน ้าลงไปเก็บ
กักในแก้มลิงใต้ดินจะเกิดประโยชน์ ดังนี
- เป็นการเก็บกักน ้าไว้ใต้ดินด้วยวิธีที่ง่าย โดยไม่สูญเสียพื นที่ผิวดิน ช่วยลดปริมาณการ
สูญเสียน ้าที่ไหลลงสู่ทะเลในแต่ละปีเป็นปริมาณที่มหาศาล
- การเก็บกักน ้าใต้ดินนอกจากจะไม่สูญเสียน ้าจากการระเหย และยังเป็นอีกหนึ่งวิธีใน
การรักษาคุณภาพของน ้าอีกด้วย