Page 9 - หนังสือแนวทางพึ่งพาตนเองด้วยแหล่งน้ำขนาดเล็ก
P. 9
6
วิธีการก่อสร้างฝายในล าห้วยแกนดินซีเมนต์
1. หาจุดที่มีความเหมาะสมในการก่อสร้าง
2. เคลียร์พื นที่โดยการน้าสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ออกจากบริเวณฝาย
3. ขุดเปิดหน้าดิน ขุดร่องแกน ขุดหูช้าง ตามแบบ
4. น้าดินที่ขุดขึ นมาท้าการผสมเป็นดินซีเมนต์ตามสัดส่วน ให้วางท่อระบายทรายพร้อมอุปกรณ์
ก่อนท้าการบดอัดดินซีเมนต์ ขึ นมาเป็นชั น ๆตามล้าดับ โดยประกอบด้วยร่องแกน หูฝาย พื นล่าง สันฝาย
พื นฝาย ความชันด้านข้าง ความชันฝาย เป็นต้น เสร็จแล้วให้ท้าการปลูกหญ้าและต้นไม้ ที่ความชันฝายทั งสอง
ฝั่ง
5. ปูแผ่นใยสังเคราะห์ปิดทับบริเวณที่เป็นดินซีเมนต์ก่อนท้าการวางกล่องแมทเทรส (Mattress)
แล้วตอกยึดกล่องด้วยสมอเหล็กที่มีรูปร่างคล้ายสระอา ความยาวไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร จึงน้าหินมาวาง
เรียงเป็นขั นตอนสุดท้าย (กรณีเป็นแบบมีกล่องแมทเทรส)
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. เป็นแหล่งน ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค และท้าการเกษตรแบบประหยัดน ้า
2. ช่วยรักษาสภาพล้าน ้า ช่วยอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้เกิดความชุ่มชื น
3. ฝายแกนดินซีเมนต์ช่วยหนุนระดับน ้าใต้ดิน จึงส่งผลให้ราษฎรมีแหล่งน ้าใต้ดินไว้ใช้อย่างยั่งยืน
4. ระดับสันฝายความสูงไม่เกิน 2 เมตร จึงไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย
5. วิธีการก่อสร้างไม่ซับซ้อน มีราคาประหยัด จึงกระจายออกสู่ท้องถิ่นได้อย่างรวดเร็ว
6. ลดภาระของเขื่อนหลัก ลดความกังวลของภาครัฐ หากมีฝายแกนดินซีเมนต์กระจายอยู่
ทั่วประเทศ
7. มีการต่อยอดเพื่อน้าน ้าจากฝายขึ นไปใช้ท้าการเกษตรแบบทฤษฎีใหม่ (ด้วยระบบโซล่าเซลล์)
ท้าให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้