Page 133 - สัมมนา 2_2563_Neat
P. 133
127
ตารางที่ 5 การใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ที่มีต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพดหวาน
สิ่งทดลอง ความสูงล าต้นเฉลี่ย ความยาวของฝักเฉลี่ย ความกว้างของฝักเฉลี่ย
(ซม./ต้น) (ซม./ฝัก) (ซม./ฝัก)
1. CFBSA 135.8 19.2 4.4
2. CFBSA+CJ2,000 138.4 20.3 4.5
3. CFBSA+ChM2,000 139.5 20.4 4.6
4. CFBSA+PM2,000 141.7 21.0 4.6
5. CFBSA+CM2,000 136.3 20.1 4.5
F-test Ns Ns ns
C.V. (%) 15.4 16.7 10.8
ที่มา: ดัดแปลงจากสมพร และคณะ (2561)
Midranisiah et al., (2560) ได้ศึกษา การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในข้าวโพดหวานที่ปลูกในพนที่น้ าน้อย
ื้
พบว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์มูลไก่ในข้าวโพดหวาน ท าให้ได้จ านวนใบมากขึ้น ล าต้นของข้าวโพดสูงขึ้น และมี
ล าต้นที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางของข้าวโพดสูงกว่าปุ๋ยอินทรีย์ชนิดอื่นๆ รวมทั้งมีผลแตกต่างกันอย่างมี
นัยส าคัญ (ตารางที่ 6)
เนื่องจากปุ๋ยอินทรีย์มูลไก่ได้ให้ธาตุอาหาร N, P และ K ในสภาพที่เพียงพอและสมดุลซึ่งส่งผลให้
ความสูงของข้าวโพดหวานและจ านวนใบเพิ่มขึ้น ในการใช้ปุ๋ยอินทรีย์มูลไก่สูงกว่าปุ๋ยอินทรีย์อื่นๆ ซึ่งจะ
ช่วยเพิ่มความสามารถในการสังเคราะห์แสง ความสามารถในการสังเคราะห์แสงที่สูงจะท าให้น้ าหนักของ
สสารเพิ่มขึ้นและจะถูกน าไปใช้ในการเจริญเติบโตของพืช