Page 91 - Research Innovation 2566
P. 91

การออกแบบและพัฒนาชุดทดสอบเสมือนจริงส าหรับการทดสอบประสิทธิภาพ
                                                                                                           ของอุปกรณ์ขดลวดค้ ายันชนิดดึงกลับส าหรับลากลิ่มเลือดในสมอง
                                                                                                     Design and Development of the Mock Circulation Device for Efficiency
                                                                                                                      Testing of the Stent Retriever


















                                                                                                         อุปกรณ์ทางการแพทย์ในปัจจุบันยังต้องน าเข้าจากต่างประเทศ ท าให้มีราคาที่สูง อีกทั้ง
                                                                                                   การเข้าถึงอุปกรณ์ของบุคลากรทางการแพทย์นั้นยังมีน้อยมากเมื่อเทียบกับจ านวนผู้ป่วยในโรค
                                                                                                   หลอดเลือดสมอง ดังนั้น นวัตกรรม "ชุดทดสอบเสมือนจริง (Mock circulation)" นี้ เป็น 1 ในขั้นตอน
                                                                                                   การทดสอบประสิทธิภาพของขดลวดคายันชนิดดึงกลับเพื่อรักษาโรคหลอดเลือดสมองที่ได้เริ่มท าการ
                                                                                                                            ้
                                                                                                       ึ
                                                                                                       ้
                                                                                                                                                          ึ
                                                                                                                                                        ้
                                                                                                                                                                  ็
                                                                                                                                                             ่
                                                                                                                                   ้

                                                                                                                                            ์
                                                                                                                                       ุ
                                                                                                   ผลตขนเองในประเทศไทย สามารถลดการนาเขาของอปกรณและกระจายการเขาถงไมว่าจะเปน
                                                                                                     ิ
                                                                                                                                                  ื
                                                                                                                                                 ์
                                                                                                   ทั้งผู้ป่วยเองหรือบุคลากรแพทย์ ออกแบบและสร้างโดยมีวัตถุประสงคคอ  เพื่อออกแบบและสร้าง
                                                                                                                             ้
                                                                                                                       ์

                                                                                                   ชดทดสอบการดึงของอปกรณขดลวดคายันและลากล่มเลือดผ่านหลอดเลือดสมองเสมือนจริงให้มี
                                                                                                                                      ิ
                                                                                                                  ุ
                                                                                                    ุ
                                                                                                           ี
                                                                                                   ความใกล้เคยงกับมนุษย์มากที่สุด และเพื่อประเมินประสิทธิภาพด้วยชุดทดสอบเสมือนจริงของอุปกรณ์
                                                                                                   ขดลวดค้ ายันที่สร้างขึ้น และสามารถน าผลการทดสอบไปใช้ในการยื่นเอกสารเพื่อเตรียมท าการทดสอบ
                                                                                                   ในสัตว์ทดลองและมนุษย์ต่อไป
                                                                                                   นักประดิษฐ์    นายณภัทร เนาวรังษี
                                                                                                   อาจารย์ที่ปรึกษา   รศ.ดร.อนรรฆ ขันธะชวนะ
                                                                                                   สถานที่ติดต่อ   ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร  ์
                                                                                                                 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
                                                                                                                 126 ถนนประชาอุทิศ แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140
                                                                                                                  โทรศัพท์ 0 2470 8000
                                                                                                                 E-mail: anak.kha@kmutt.ac.th


                                                                                                        ส ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.)                                                      93
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96