Page 99 - การบริหารจัดการระบบประปาหมู่บ้านของประเทศไทย: กรณีศึกษาชุมชน จังหวัด นครนายก
P. 99
89
ี่
็
ู
ควรเปนทปรกษาด้านวิชาการให้กับคณะกรรมการประปาหม่บ้าน และหน่วยงานทเกี่ยวข้อง รวมทั้ง
ึ
ี่
ิDPU
ิ
การตดตามผลการด าเนนงานจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นอย่างต่อเนอง เพื่อให้เกิดการพัฒนาเชง
ิ
ื่
ิ
ิ
ิ
ี
ิ
ระบบให้มประสทธภาพต่อไป
5.2 อภิปรายผล
ึ
ึ
ี
จากการศกษางานวิจัยในคร้ ังน้ ผู้วิจัยได้ท าการศกษาเอกสารงานวิจัย ต ารา บทความทาง
ิ
์
ุ
ื่
ิ
วิชาการ ส่งพิมพ์ รายงานการประชมสัมมนา และสออเล็กทรอนกสทั้งจากในประเทศไทยและ
ิ
ึ
์
ต่างประเทศ พรอมทั้งการสัมภาษณเชงลกในส่วนของ ส านักงานทรพยากรธรรมชาตและส่งแวดล้อม
ิ
ั
ิ
ิ
้
ิ
ุ
ุ
ิ
องค์การบรหารส่วนต าบล และคณะกรรมการประปาหม่บ้านจ านวน 2 ชมชน (ตัวแทนกล่มผู้บรโภคน ้า
ู
ใช้แบบประปาผิวดนและแบบประปาบาดาล) ผู้วิจัยขอน าเสนอการอภปรายผลโดยใช้รปแบบโมเดล
ู
ิ
ิ
์
ิ
่
ู
ทฤษฎมลค่าเชงสาธารณะของมัวร (1995) (Public Value Theory) ซงโมเดลทฤษฎมลค่าเชงสาธารณะ
ี
ี
ึ
ู
ิ
ี
ิ
ประกอบด้วย การบรการ ผลลัพธ และความไว้ใจ โดยทั้ง 3 องค์ประกอบมความสอดคล้องสัมพันธซง
์
์
ึ
่
กันและกันและสามารถน ามาอภปรายผลได้ ดังน้ ี
ิ
ิ
ิ
ิ
ึ
ิ
ี่
(1) การบรการ (Service) หมายถง ประสทธภาพของการบรหารต้นทนทท าให้เกิดการ
ุ
ี่
ุ
บรการทมคณภาพ
ิ
ี
ิ
ิ
ิ
การบรหารจัดการระบบประปาหม่บ้านทมประสทธภาพ หลังการถ่ายโอนและ
ี่
ู
ี
ี
ั
กระจายอ านาจมายังองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นในป พ.ศ. 2548 ส านักงานทรพยากรธรรมชาตและ
ิ
ิ
ื
ิ
ส่งแวดล้อมจังหวัดนครนายก ได้ด าเนนการในการประสานงานร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่น คอ
ิ
ิ
ิ
ิ
องค์การบรหารส่วนจังหวัด และองค์การบรหารส่วนต าบล ในการร่วมมอกันวางแผนและจัดการ
ื
ู
ิ
เลอกตั้งคณะกรรมการบรหารประปาหม่บ้าน เพื่อด าเนนการภายใต้ระเบยบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย
ื
ี
ิ
ั
การบรหารกิจการและบ ารงรกษาระบบประปาหม่บ้าน พ.ศ. 2548 เพื่อตอบสนองต่อความต้องการใช้น ้า
ุ
ู
ี่
ของประชาชนในแต่ละพื้นทได้อย่างทั่วถง
ึ