Page 34 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 34
ปลาปลาพลวง ปลาพุง
ชื่อสามัญ Blue Mahseer
์
ชื่อวิทยาศาสตร Neolissocheilus stracheyi (Day, 1871)
ลักษณะทั่วไป: ด้านหน้าของล้าตัวค่อนข้างกลม ขากรรไกรล่างมีขอบคม ริมฝีปากไม่
ิ
หนามากนัก ไม่มีสันเนื้อจากปลายของขากรรไกรลางลงไปบรเวณคาง
่
บริเวณแก้มมีตุ่มสิวจ้านวนมาก แผ่นหนังที่มุมปากแยกออก ฟันในหลอดคอ
มีจ้านวน 3 แถว ครีบหลังสั้นมีก้านครีบที่แตกปลาย 8-9 กาน กานครบ
ี
้
้
ุ
เดี่ยวก้านสดท้ายของครีบหลังอ่อนไม่มีหยักทางด้านใน เกล็ดมีขนาดใหญ่มี
็
จ้านวนเกล็ดน้อยกว่า 30 เกล็ดในแนวเส้นข้างตัว เกล็ดคอดหาง 12 เกลด
(Jayaram, 1999; Rainboth, 1985 และ Kottelat, 1998, 2001)
สามารถเพาะขยายพันธุ์ได้ แต่ยังมีปริมาณน้อย เป็นปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง
ในอนาคต
การใช้ประโยชน์: น้ามาปรุงสด มีการจับเพื่อน้ามาเลี้ยงเป็นปลาสวยงาม
ขนาดใหญ่ที่สุด: 60 เซนติเมตร
การกระจายพันธุ์: พบบริเวณต้นน้้า ทั่วทุกภาคของไทยและเอเชียตะวนออกเฉยงใต ้
ั
ี
ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในล้าน้้าสาขาขนาดเล็ก และอพยพลงไปที่มีขนาดใหญ่ขึ้น
ถิ่นอาศัย: พบในล้าธารขนาดใหญ่ มีหินก้อนอยู่ใต้น้้า น้้าใส
อาหารธรรมชาติ: ผลไม้ ลูกปลา ลูกอ๊อด แมลงน้้า แมลงบก
้
สถานภาพ: พบไดค่อนข้างบ่อย พัฒนาเป็นปลาเศรษฐกิจได้
30 การเพาะเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง