Page 10 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 10
การเพาะเลี้ยงกบบนพื้นที่สง
ู
่
้
็
ลักษณะแตกต่างกันตามช่วงอายุ ซึ่งลักษณะของกบสามารถแบ่งออกไดเปน 2 สวน
คือ
1. ส่วนหัว จะมีรูปร่างเป็นสามเหลี่ยมติดกับล้าตัว ไม่มีคอ มีตาลกษณะ
ั
กลมโปนออกมา สามารถมองเห็นได้ดีในที่มืด โดยเฉพาะตอนกลางคืน เมื่อกระทบ
ี่
ื
่
กับแสงไฟจะเห็นเป็นประกายสีเหลืองแดง ส่วนในท ๆ มีแสงสวางมาก ๆ หรอใน
ตอนกลางวัน กบจะมองเห็นได้ไม่ดีและไม่ไกลนัก กบจะมีหูถัดจากตาไปทางด้านหลัง
เล็กน้อยทั้ง 2 ข้าง ลักษณะเป็นแผ่นกลมบาง ๆ มีรูจมูก 2 รู ทะลุเข้าไปในชองปาก
่
ื่
ส้าหรับให้อากาศภายนอกผ่านเข้าไปในปากเพอใชในการหายใจ และปากกบมี
้
ิ
ิ้
ลักษณะกว้างมาก เมื่ออ้าปากกบจะเห็นลิ้นกบซึ่งมีลักษณะแบนและที่โคนลนจะตด
ั
อยู่กับส่วนหลังของขากรรไกรล่าง ถัดเข้าไปที่ขากรรไกรบนและเพดานปากจะมีฟน
อยู่ 2 แถว ซึ่งเอาไว้ท้าหน้าที่กันไม่ให้อาหารที่เข้าปากไปแล้วหลุดออกมาจากปากได ้
่
ั
ั
2. ส่วนล าตัว จะมีลักษณะพองกว้างออกโดยเฉพาะกบตวเมีย สวนตวผ ู้
บริเวณหลังมักจะคอดเล็ก ส่วนกึ่งกลางของล้าตัวจะมีปุ่มนูน 2 ปุ่ม มีขา 2 ค คอ ค ู่
ู่
ื
ั้
หน้า 1 คู่ และคู่หลัง 1 คู่ ขาคู่หน้าจะสนและมีนิ้วอยู่ 4 นิ้ว นิ้วหัวแม่มือส่วนในสุดจะ
มีลักษณะเป็นตุ่มเล็ก ๆ สังเกตเห็นได้ง่าย สวนขาคหลงจะมีขนาดยาวใหญ่และ
ั
่
ู่
่
แข็งแรง มีนิ้ว 5 นิ้ว นิ้วหัวแม่เท้าจะสั้นกว่านิ้วอื่น ๆ ระหว่างนิ้วทั้ง 5 นิ้ว ก็จะมีแผน
หนังบางๆ ยึดเชื่อมติดกันเพื่อใช้ส้าหรับว่ายน้้า
ทั้งส่วนหัวและส่วนล้าตัวของกบจะมีผิวหนังหุ้ม มีลักษณะบางเรียบอ่อนนุ่ม
และลื่นเล็กน้อย เนื่องจากมีเมือกมาหล่อเลี้ยงผิวหนังให้ชุ่มชื้นอยู่เสมอ กบจะมีหนัง
3 ชั้น ผิวหนังของกบจะประกอบไปด้วยเม็ดสีต่าง ๆ เช่น สีเหลืองปนแดง สีน้้าเงินปน
่
ี
ู่
ั้
เทา สีน้้าตาลปนด้า ซึ่งทั้ง 3 ชนิดนี้จะเรยงกนอยในชนของหนังจากบนลงลาง
ั
ิ
ตามล้าดับ โดยทั่วไปแล้วกบจะมีล้าตัวสีเหลือง สีน้้าตาลปนเขียวหรอดา แตผวหนัง
้
่
ื
ู
ู่
กบก็สามารถเปลี่ยนสีได้ตามสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยและฤดกาล เชน ในฤดการ
ู
่
ผสมพันธุ์วางไข่ กบตัวผู้จะมีสีที่ใต้ขาปรากฏเป็นสีเหลืองอ่อน ๆ หรือสเหลืองออกสม
้
ี
ิ
เห็นได้ชัดเจรกว่ากบตัวเมีย นอกจากนี้ ส่วนที่เห็นได้ชัดของกบตัวผู้ก็คือ เมื่อจับพลก
~ 5 ~