Page 21 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 21

การเพาะเลี้ยงกบบนพื้นที่สง
                                                                         ู

             ส่วนกบที่เหลือก็เลี้ยงต่อในกระชังต่อไป พื้นที่ใต้กระชังใช้แผ่นกระดานหรือโฟมสอด
             ด้านล่าง เพื่อให้เกิดส่วนนูนในกระชัง กบจะได้ขึ้นไปอยู่อาศัย ส่วนรอบ ๆ ภายนอก
             กระชังใช้วัสดุ เช่น แฝกหญ้าคา หรือทางมะพร้าวคลุมไว้ เพื่อไม่ให้กบมองเห็นทิวทัศน์
                                                                     ื
             ภายนอกกระชัง มิฉะนั้นกบจะหาหนทางหลบหนีออก โดยการกระโดดชนผนอวน
             กระชัง เป็นเหตุให้ปากเป็นแผลจนกินอาหารไม่ได้ ส่วนด้านบนกระชังก็มีวัสดุพรางแสง
             ใช้เช่นกัน


                     2. กระชังบก มีลักษณะเช่นเดียวกันกับกระชังเลี้ยงปลา แต่พื้นกระชังจะเป็น
             ผ้าพลาสติกเพื่อกักเก็บน้้าไว้ในกระชังได้ กระชังบกถือเป็นการดัดแปลงจากวิธีที่เลยง
                                                                        ี้
             แบบกระชังน้้า โดยข้อดีสามารถเปลี่ยนถ่ายน้้าได้ง่าย ไม่ต้องก่อสร้างหรือขุดบ่อเพิ่มเติม

                                                                      ้
                                                                         ู
             เพียงแค่ปรับผิวดินให้เรียบก็พอ สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก และราคาคอนขางถก
                                                                  ่
             รูปแบบนี้ถือเป็นรูปแบบการเลี้ยงตามสะดวก เพราะขนาดกระชังสามารถก้าหนดได้ตาม
             ความต้องการของผู้เลี้ยง โดยจากการศึกษาของ อภิชาติ (2560) ที่ทดลองเลี้ยงกบใน
             รูปแบบที่ต่างกัน เป็นเวลา 3 เดือน ณ บ้านสองธาร อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ พบว่า กบท ี่
                                                      ี้
                                                                ั
                                                    เลย งใน กร ะชง บกมี กา ร
                                                                 ี
                                                                ี่
                                                           ิ
                                                    เจรญเตบโตทดทสด เมื่อ
                                                                    ุ
                                                                   ี่
                                                       ิ
                                                    เปรียบเทียบกับการเลี้ยงในคอก
                                                    และยางรถยนต ทงนี้พนท  ี่
                                                                 ์
                                                                       ื้
                                                                   ั้
                                                    ทดลองยังมีอุณหภูมิค่อนข้างต่้า
                                                                    ู
                                                                         ึ่
                                                                ี่
                                                    เพราะอยู่ในพื้นทบนภเขา ซง
                                                               ่
                                                              ้
                                                    อาจเป็นไปไดวา รปแบบการ
                                                                 ู
                                                    เลี้ยงกบในกระชังบกจะสามารถ
                                                    น้าไปส่งเสริมให้เกษตรกรเลยง
                                                                        ี้
                                                                         ู
                                                          ื้
                                                               ู
                                                                 ี่
                                                                    ุ
                                                             ี่
                                                    กบบนพนทสงทมีอณหภมิ
                                                    ค่อนข้างต่้าได้ด  ี
                                         ~ 16 ~
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26