Page 32 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 32
การเพาะเลี้ยงกบบนพื้นที่สง
ู
2. การแยกเพศกบ
กบตัวผู้ : มักมีขนาดล้าตัวเล็กกว่ากบตัวเมีย เมื่อจับหงายท้องดูจะพบว่ามี
้
กล่องเสียงอยู่บริเวณใต้คางทั้ง 2 ข้าง ที่มีลักษณะบุ๋มลงไปและนูนขึ้นเมื่อกบรอง ท ี่
บริเวณกล่องนี้จะมีสีออกเข้มหรือด้าและสังเกตเห็นได้ชัด และกบตัวผู้จะมีส่วนหูกลม
ใหญ่ โตกว่าตาด้วย
้
กบตัวเมีย : มักมีขนาดล้าตัวใหญ่กว่ากบตัวผู้ เมื่อจับหงายทองดจะไม่มี
ู
่
กล่องเสียง และกบตัวเมียจะมีสวนหูเท่าๆกับตา ไม่กลมใหญ่เช่นกบตัวผ ู้
3. การคัดเลือกพ่อ-แม่พันธุ์กบ
ุ์
ุ์
้
ส้าหรับพ่อ แม่พันธกบที่จะน้ามาใช้ผสมพันธวางไข่แล้วไดผลดนั้นจะตอง
้
ี
มาจากแหล่งพันธที่ต่างถิ่นกัน เพื่อหลีกเลี่ยงการผสมเลอดชด ซงจะมีผลทาใหกบ
ื
้
้
ึ่
ิ
ุ์
แคระแกร็นโตช้า มีขนาดเล็กลง ผิดลักษณะพ่อแม่พันธ นอกจากนี้กบจะต้องมีอายุถึง
ุ์
ั
วัยเจริญพันธเต็มที่แล้ว โดยกบตัวผู้ควรมีอายุอย่างน้อย 8 เดือน ส่วนกบตวเมียควร
ุ์
จะต้องมีอาย 1ปขึ้นไป แม่พันธไม่ควรเลือกตัวที่อ้วนมากไป เพราะการฟอร์มไข่จะช้า
ุ
ี
ุ์
แต่ก็ไม่ควรผอมเกินไปเช่นกัน เพราะจะท้าให้ได้ลูกกบที่ไม่แข็งแรง ดังนั้นควรเลอก
ื
พ่อแม่พันธที่มีน้้าหนักตัวประมาณ 400-500 กรัม นอกจากนี้ลาตวของกบควรมีส ี
ั
้
ุ์
~ 27 ~