Page 73 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 73
การเพาะเลี้ยงกบบนพื้นที่สง
ู
1. ต้องพักน้้าก่อนที่จะน้ามาใช ้
2. บ้าบัดฆ่าเชื้อในน้้า
3. ปรับสภาพน้้าให้เหมาะสมด้วยปูนโดโลไมท ์
อาหาร : ควรให้เป็นอาหารเม็ดส้าเร็จรูป โดยมีข้อดี คือ
1. ปลอดจากเชื้อโรคและพยาธ ิ
2. ท้าให้น้้าเสียลดลง
กบจากแหล่งอื่น : กบจากแหล่งอื่นสามารถน้าโรคได้ จึงไม่ควรน้ากบจาก
แหล่งอื่นมาเลี้ยงในฟาร์ม หรือน้ามาเป็นพ่อแม่พันธุ์ แต่ถ้าจ้าเป็นควรปฏิบัติดังนี้
1. ก่อนที่จะน้ามาเลี้ยงในฟาร์มต้องมีการกักโรคก่อน
2. ฆ่าเชื้อและพยาธิที่ติดมากับตัวกบ
สภาพแวดล้อม : สภาพแวดล้อมและการจัดการจะต้องเหมาะสมกบกบ
ั
ื้
้
ิ
้
สภาพแวดล้อมและการจัดการที่ท้าให้กบเกิดความเครียดจะทาใหกบตดเชอไดง่าย
้
เช่น จากการปล่อย สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้วิธีการแก้ไขคือ ใหน้าวิตามินรวม
้
หรือวิตามินซีมาคลุกอาหารให้กบกิน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับกบ
หมายเหตุ : เพื่อเป็นการป้องกันโรคควรรักษาความสะอาดของบอ และ
่
ึ่
อุปกรณ์ต่างๆ เป็นอย่างดี หรือท้าการฆ่าเชื้อในบ่อด้วย B.S.C. 50% ทุก ๆ 3 วัน ซง
้
้
ี
ี
ั
ิ
บ่อขนาด 3x4 เมตร ระดับน้้าลึก 5 เซนตเมตร ใหใชในอตรา 1.5 ซซ ละลายน้้า
สะอาด หลังจากการเปลี่ยนถ่ายน้้า
การรักษา : เนื่องจากโรคนี้เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ยาที่ใช้ส่วนใหญ่เปนยา
็
ปฏิชีวนะหรือยาซัลฟาที่ไวต่อเชื้อนี้ โดยการผสมในอาหารให้กบกิน หรือป้อนยา หรือ
ใส่ยาลงในน้้า วิธีที่ดีที่สุดคือ การให้กินโดยผสมในอาหาร แต่ถ้ากบไม่กินอาหารก็ควร
จะใช้วิธีป้อนยา ยาที่ใช้อาจเป็นพวกเตรทตาไซคลน โดยใหยาในขนาด 50-100
้
้
ิ
มิลลิกรัม ต่อกบหนัก 1 กิโลกรัม
ื
ื้
2.2 โรคทเกดจากเชื้อแบคทเรยทพบเปนครงคราว คอเชอไมโคร
็
ี
ี
ี่
ั้
ิ
ี่
๊
แบคทีเรีย ซึ่งจะท้าให้เกิดเป็นตุ่มตามผิวหนังและอวัยวะภายใน เชื้อสแตปฟิลโลคอก
~ 68 ~