Page 80 - คู่มือเลี้ยงปลาบนพื้นที่สูง real 7_7_2018
P. 80
การเพาะเลี้ยงกบบนพื้นที่สง
ู
แนวทางในการอนุรักษ์พนธกบ
ุ์
ั
ู่
ู
ั่
กบเป็นสัตว์สะเทินน้้าสะเทินบก ซึ่งมีการแพร่กระจายอยทวภมิภาคของ
ประเทศไทย โดยมีความสัมพันธ์กับวิถชีวิตของชุมชนทั้งในทางตรงและทางอ้อม แต ่
ี
ื
้
ที่ผ่านมาสภาวะแวดล้อมธรรมชาติไดเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก สบเนื่องจากปาถก
ู
่
้
่
ท้าลายท้าใหแหล่งต้นน้้าลดลง ความชื้นในธรรมชาติลดลง จึงส่งผลท้าใหแหลงหลบ
้
ั
ซ่อนและแหล่งขยายพันธุ์ตามธรรมชาติลดลงตามไปด้วย อีกทั้งยงมีการใชสารเคมี
้
และยาปราบศัตรูพืชบนพื้นที่สูงมากขึ้น ท้าใหวงจรชีวิตของกบในธรรมชาติถูกท้าลาย
้
ลง ท้าให้มีผลกระทบโดยตรงต่อวิถีชีวิตของชุมชนในพื้นท ี่
ๆ
่
ู
ดังนั้น การเพาะขยายพันธุ์กบนา เขียดแลว อึ่งอ่าง กบภเขาตาง และ
ี่
เขียดต่าง ๆ ที่เป็นสัตว์ประจ้าถิ่นบนพื้นที่สูงในแต่ละพื้นทเพื่อปล่อยลงในแหล่งอาศัย
่
ุ
ตามธรรมชาติ นอกจากจะเป็นการอนุรักษ์โดยตรงแลว ยงชวยควบคมแมลงตาม
้
ั
ธรรมชาติให้เข้าสู่ภาวะสมดุลตามธรรมชาติ ซึ่งจะให้ผลดีทางอ้อมแก่เกษตรกรผปลก
ู้
ู
้
พืชสวนและพืชไรได โดยเฉพาะการเพาะขยายพันธุ์กบภูเขาเพื่อปล่อยตามพนทเขต
ื้
ี่
่
อนุรักษ์ทั้งที่เป็นพื้นที่ที่ถูกก้าหนดโดยชุมชนและเขตอุทยานแห่งชาติต่าง ๆ เพอเพม
ิ่
ื่
ั้
ปริมาณของกบภูเขา เช่น เขียดแลว กบเปอะ กบจุก กบติดผาเหลือง และฯลฯ ทงนี้
ี่
ื่
การเพาะขยายพันธุ์กบเพื่อปล่อยคืนธรรมชาตินั้นมีเป้าหมายคือ เพอลดความเสยง
ิ
ต่อการใกล้สูญพันธุ์ของกบภูเขาบางชนิดได้ ท้าให้เกิดความสมดุลในธรรมชาต และ
สามารถน้ามาท้าเป็นอาหารโปรตีนไว้บริโภค รวมถึงสามารถพัฒนาเป็นอาชีพในการ
เพาะเลี้ยงกบบนพื้นที่สูงได้ ทั้งนี้อาจจะต้องบูรณาการควบคู่ไปกบการอนุรกษและ
ั
ั
์
ั
ฟื้นคืนผืนป่าต้นน้้าด้วย โดยเฉพาะบนพื้นที่สูง เช่น อ้าแม่แจ่ม และอาเภอกลยานิ
้
วัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ ต่อไป
~ 75 ~