Page 125 - Research Design
P. 125

                 การวิจัยเชิงทดลอง 105
 ข้ันตอนการทดลอง
- กล่องทดลองขนําดกว้ําง 0.90 เมตร ยําว 1.50 เมตรและสูง 2.00 เมตร ติดต้ังพัดลม ดูดอํากําศขนําด 8 น้ิว มีอัตรํากํารระบํายอํากําศ 360 ลูกบําศก์เมตรต่อช่ัวโมง มีเคร่ือง วัดควํามเร็วลม อุณหภูมิและควํามชื้น Thermo-Hygro-Anemometer
- ภํายในกล่องกระจกทดลองติดต้ังอุปกรณ์ปล่อยฝุ่นด้ํานบนขนําดกว้ําง 5 มิลลิเมตร ห่ํางจํากจุดที่ลมเข้ํา 0.25 เมตร ใช้ปริมําณฝุ่นละอองในกํารทดลองแต่ละครั้ง 1 กิโลกรัม ค่อยๆ ปล่อยฝุ่นและวัดปริมําณฝุ่นหลังฝุ่นหมด (ภําพประกอบ 4.3)
- เครอื่ งวดั ปรมิ ําณฝนุ่ Hand-held Detector วดั และคํา นวณปรมิ ําณฝนุ่ BLATN BR-V Portable PM10 และ PM2.5 ต้ังแต่ 0-999 ไมโครกรัมต่อลูกบําศก์เมตร (μg/m3)
- ไม้พุ่ม 3 ชนิด ชนิดละ 3 ต้นสูง 1.50 เมตรวํางเรียงเป็นระนําบขวํางทิศทํางลม พร้อม ตดิ ตง้ั เครอื่ งวดั ปรมิ ําณฝนุ่ ระยะควํามสงู 1 เมตร มกี ํารวดั ปรมิ ําตรของไมพ้ มุ่ ดว้ ยกํารใชโ้ ปรแกรม Agisoft PhotoScan ใช้เทคนิคกํารถ่ํายภําพ 120-160 ภําพโดยรอบพุ่มไม้
- กํารทดลองประกอบด้วย 4 สถํานกํารณ์ ได้แก่ (1) ไม่มีต้นไม้ (2) ต้นไม้ชนิดที่หนึ่ง (3) ต้นไม้ชนิดที่สอง (4) ต้นไม้ชนิดที่สําม
- กํารวัดปริมําณฝุ่นประกอบด้วย 2 ตําแหน่งภํายในกล่องทดลอง คือด้ํานหน้ําของ พุ่มไม้ และด้ํานหลังของพุ่มไม้ ทุกตําแหน่งถูกวัดพร้อมกันโดยวัดทั้งหมด 10 ครั้งตลอดกําร ปล่อยฝุ่นแต่ละครั้งห่ํางกัน 1 นําที
ภาพประกอบ 4.3 ภาพจาลองสถานการณ์ในกล่องทดลองและชนิดต้นไม้ทั้งสามชนิด
ที่มา: “ความสามารถในการดักจับฝุ่นจากภายนอกอาคารของไม้พุ่ม,” โดย ลลิตา รัตนประภา, พาสินี สุนากร, และพัชรียา บุญกอแก้ว 2562,
 งานประชุมวิชาการ THE 10th BUILT ENVIRONMENT RESEARCH ASSOCIATES CONFERENCE, BERAC 2019, 137-146.
























































































   123   124   125   126   127