Page 137 - Research Design
P. 137

                 การวิจัยเชิงสําารวจ 117
  ภาพประกอบ 5.4 ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พื้นที่ของกลุ่ม teleworker
Note: From: “Libraries as transitory workspaces and spatial incubators,” โดย Mina Di Marino and Kimmo Lapintie, 2015,
Library & Information Science Research. 37(2): 118-129.
ผลการวิจัยที่สาคัญ
- กํารวิเครําะห์ข้อมูลจํากกํารสังเกตและสัมภําษณ์ผู้ใช้งําน สํามํารถแบ่งโปรไฟล์ของ ผู้ใช้งํานได้เป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ (1) นักวิชํากําร (the scholar) (2) ศิลปินและคนทํางํานด้ําน ศิลปะ (the artist) (3) คนเดินผ่ํานเพื่อมําใช้งํานอุปกรณ์ เช่น wifi (the walker) (4) ผู้เริ่ม ธุรกิจและเพิ่งจบกํารศึกษํา (the starter) และ (5) คนที่หลบควํามวุ่นวํายจํากสํานักงํานตนเอง มํานั่งทํางําน (the fugitive)
- บทบําทใหม่ของห้องสมุดคือ จะมีควํามเชื่อมโยงกับพื้นที่บริบทเมืองมํากขึ้น และ หอ้ งสมดุ จะเปน็ เสมอื นสถํานทที่ ํา งํานแบบชวั่ ครําว (transitory workplaces) และพนื้ ทสี่ ํา หรบั กํารบ่มเพําะของผู้คน (spatial incubators)
- ถึงแม้จะมีกํารปรับตัวและกํารออกแบบพื้นที่รองรับพฤติกรรมกํารทํางํานแบบใหม่แต่ มีเพียงผู้ใช้งํานบํางส่วนเท่ํานั้นที่รับรู้เกี่ยวกับ emerging function เหล่ํานี้
- กลมุ่ teleworkers ทใี่ ชห้ อ้ งสมดุ เปน็ สถํานทสี่ ํา หรบั ทํา งําน แตก่ ม็ ําใชแ้ บบเปน็ ครงั้ ครําว
- กํารออกแบบและคุณภําพของพื้นที่เป็นสิ่งสําคัญอย่ํางมําก (extremely important) กลุ่ม teleworkers ให้ควํามสําคัญกับเฟอร์นิเจอร์ที่สะดวกสบําย คุณภําพที่ดีของ wifi และ ปลั๊กไฟ ควํามเงียบ และกํารจัดแสงประดิษฐ์และแสงธรรมชําติที่เหมําะสม มีข้อสังเกตว่ํา กํายภําพที่ออกแบบสําหรับกํารทํางํานนอกจํากมีควํามสวยงํามสบํายตําแล้วจําเป็นต้องมีควําม เหมําะสมกับหลักกํารยศําสตร์ แสงที่ใช้ได้สําหรับกํารทํางํานด้วย

























































































   135   136   137   138   139