Page 187 - Research Design
P. 187

                 7.3
 กระบวนการวิจัยเชิงกรณีศึกษา
การวิจัยเชิงกรณีศึกษา 167
 กระบวนกํารสําคัญในกํารวิจัยเชิงกรณีศึกษํา ได้แก่ กํารพัฒนําแนวคิดต้ังต้น กํารเลือกกรณีศึกษํา กํารเก็บข้อมูลและกํารวิเครําะห์ข้อมูลกรณีศึกษํา
(1) การพัฒนาแนวคิดต้ังต้น เป็นกํารสร้ําง กรอบกํารศึกษําเชิงทฤษฎี เพ่ือนําไปสู่กํารเสนอ สมมติฐําน (provisional hypothesis) และคําถําม สําหรับกรณีศึกษํา รวมถึงกํารแสดงควํามเชื่อหรือกําร คําดกํารณ์เบื้องต้นเกี่ยวคําถํามดังกล่ําว รวมถึงแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
คํา ถํามสํา หรบั กรณศี กึ ษํามกั เปน็ แบบเปดิ และ มีลักษณะยืดหยุ่นที่สํามํารถปรับเปล่ียนไปตําม สถํานกํารณร์ ะหวํา่ งดํา เนนิ กํารเกบ็ ขอ้ มลู อยํา่ งไรกต็ ําม คําถํามดังกล่ําวนี้ยังคงอยู่และยึดโยงกับกรอบของ คําถํามวิจัยใหญ่
(2) การเลือกกรณีศึกษา ต้องมีกํารกําหนด หน่วยกํารวิเครําะห์ (unit of analysis) หลักและย่อย เนอื่ งจํากแตล่ ะหนว่ ยตอ้ งใชเ้ ครอื่ งมอื วจิ ยั และเปน็ ขอ้ มลู ท่ีแตกต่ํางกัน เช่น ตัวอําคําร เป็นหน่วยกํารวิเครําะห์ หลัก (main unit of analysis) ชนิดพ้ืนท่ีใช้สอยเชิง กํายภําพภํายในอําคําร เป็นหน่วยกํารวิเครําะห์ย่อย (sub ordinate unit of analysis) เป็นต้น
(3) การเก็บข้อมูลกรณีศึกษา กํารเก็บข้อมูล กรณศี กึ ษํามกั จะเนน้ วธิ กี ํารเชงิ คณุ ภําพมํากกวํา่ ปรมิ ําณ และรวบรวมขอ้ มลู จํากหลํายแหลง่ (multiple sources of data) เพ่ือเป็นกํารยืนยันระหว่ํางกันของข้อมูลท่ีนํา ไปสู่ข้อสรุป
ทกุ ครงั้ ทไี่ ดข้ อ้ มลู มําจํา เปน็ ตอ้ งสรํา้ งควํามเชอื่ ม โยงเชิงตรรกะของข้อมูลกับควํามเช่ือ/กรอบแนวคิด ทฤษฎีในเบื้องต้น หรือสมมติฐํานท่ีเสนอไว้ตอนเร่ิม
กํารเก็บข้อมูลจะมีกํารวิเครําะห์ข้อมูลที่พบ หน้ํางํานไปด้วย หลํายคร้ังที่กระบวนกํารไม่ได้เป็นไป ตํามลําดับขั้นตอนที่วํางแผนไว้ เช่น ระหว่ํางกํารเก็บ ข้อมูลอําจเกิดคําถํามใหม่ๆ ข้อสงสัยเพิ่มเติม จนต้องมี กํารค้นคว้ําเพ่ิม เก็บข้อมูลเพิ่ม
(4) การวิเคราะห์กรณีศึกษา โดยทั่วไปมีหลัก กํารวเิ ครําะห์ 2 ลกั ษณะคอื กลยทุ ธก์ ํารวเิ ครําะหท์ วั่ ไป (generalstrategies)และวธิกีํารวเิครําะห์(analytical methods)
(4.1) กลยุทธ์การวิเคราะห์ท่ัวไป (General strategies) เปน็ เทคนคิ กํารสรปุ ขอ้ มลู โดยทวั่ ไปทแี่ บง่ เป็น 2 ลักษณะได้แก่
(4.1.1) กํารสร้ํางข้อสรุปโดยกํารเริ่ม จํากแนวคิดทฤษฎีบํางประกําร (theoretical propositions) กํารวิเครําะห์ข้อมูลบนพื้นฐํานของ แนวคิดทฤษฎีที่เสนอไว้ตอนเร่ิม และวัตถุประสงค์ของ กํารวิจัย กํารมีแนวคิดทฤษฎีจะเป็นตัวช่วยกําหนด ประเด็นในกํารรวบรวมและทิศทํางในกํารวิเครําะห์ ข้อมูล ดังน้ันคําถํามวิจัยและวัตถุประสงค์กํารวิจัย จํา เปน็ ตอ้ งอยภู่ ํายใตห้ รอื บนฐํานของแนวคดิ ทฤษฎบี ําง ประกําร กํารวิเครําะห์ข้อมูลที่ได้มําจํากกรณีศึกษําไม่ วํา่ จํากแหลง่ ใดกต็ ํามจะเปน็ ไปในทศิ ทํางของโมเดลเชงิ
ทฤษฎีที่เสนอไว้แต่แรก
 




















































































   185   186   187   188   189