Page 193 - Research Design
P. 193
การวิจัยเชิงกรณีศึกษา 173
ผลการวิจัยที่สาคัญ
1. ผู้คนเลือกที่จะมีปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมกับคนแปลกหน้ํา เช่น อยู่ในพื้นที่นั้นนําน มีปฏิสัมพันธ์กับคนไม่รู้จัก ในสถํานที่ (place) และที่ตั้ง (location) ที่ไม่ได้ถูกออกแบบมําเพื่อ ให้คนมําเจอกัน (not purposefully designed) ซึ่งขัดกับหลักกํารควํามเชื่อเดิมที่ว่ํา คนจะ เลือกพื้นที่สําหรับกํารใช้งํานเชิงสังคม (social use) ก็ต่อเมื่อพื้นที่นั้นถูกกําหนดด้วยลักษณะ กํายภําพของที่ว่ํางนั้นหรือโครงสร้ํางเชิงสังคมของกํารใช้พื้นที่นั้น ข้อค้นพบนี้นําไปสู่กําร ตั้งคําถํามสําหรับกํารวํางแผนออกแบบเมืองที่เป็นพ้ืนที่สําธํารณะที่ต้องกํารส่งเสริมให้เกิด กํารใช้งํานเชิงสังคม (social use)
2. ผู้คนมีปฏิสัมพันธ์เชิงสังคมกับคนไม่รู้จักกันในพื้นที่สําธํารณะที่มีองค์ประกอบสําคัญ คือ พื้นที่ที่มีกํารต่อรองของกํารใช้งําน (negotiation) สูง เช่น จุดผ่ํานเข้ําออก (thresholds) ของอําคํารสําธํารณะ วัตถุของที่ตั้งอยู่ (props) ที่บริเวณทํางเข้ําตัวอําคําร ขอบเขต (edges) ในทํางผ่ํานที่พลุกพล่ําน (busy) ที่สําคัญคือ
- ลําดับขั้น (steps) ที่นําเข้ําสู่ จุดผ่ํานเข้ําออก (thresholds) ของอําคําร เป็นที่ ทมี่ กี ํารเปลยี่ นผํา่ น (transition) ระหวํา่ งสว่ นตวั กบั สําธํารณะ หรอื ทที่ เี่ ขม้ งวดกบั ทที่ ผี่ อ่ นคลําย เป็นต้น
- วัตถุสิ่งของที่ตั้งอยู่ (props) บริเวณจุดผ่ํานเข้ําออก (thresholds) เช่น ที่เขี่ย บุหรี่ที่ตั้งอยู่ตรงจุดผ่ํานเข้ําออก (thresholds) ของอําคําร
- จุดโหนด (nodes) เช่น ป้ํายรถประจําทําง