Page 195 - Research Design
P. 195

                 การวิจัยเชิงกรณีศึกษา 175
 ประเมนิ ลกั ษณะโครงสรํา้ งเชงิ พนื้ ทขี่ องกรณศี กึ ษําทงั้ สอง มกี ํารวเิ ครําะหค์ ํา่ Integration (Int) ซึ่งพิจํารณําจําก ค่ํากํารเชื่อมต่อ (connectivity) และค่ํากํารเข้ําถึง (accessibility) ของ คนเดินเท้ํา ซึ่งเป็นจํานวนทํางเลือกที่เป็นไปได้ทั้งหมดในกํารตัดสินใจเลือกเส้นทํางเดินเท้ํา ค่ํา Int ที่สูง (สีแดง) คือ พื้นที่มีควํามตื่นตัว (active) ของกิจกรรมมําก
ผลกํารวิเครําะห์พบว่ํา พื้นที่รอบสถํานีใจกลํางเมือง (Kokura) มีลักษณะที่มีควําม กระตือรือร้นและมีชีวิตชีวํา (bustling area) (ภําพประกอบ 7.6)
ภาพประกอบ 7.6 การวิเคราะห์ค่า Integration (Int) พื้นที่รอบสถานีของกรณีศึกษาทั้งสอง
Note: From: “Investigation and Analysis of Urban Spatial Structure around the Train Stations in Kitakyushu by Using Space Syntax and GIS,”
by Jianan Liu, Danhua Wu, Fukahori Hidetosi, Weijun Gao, 2015. Open Journal of Civil Engineering, 5(1): 97-108.
ค้นหําองค์ประกอบเมืองที่มีผลต่อสมรรถภําพพื้นที่ (space performance) ด้วยกําร วเิ ครําะหพ์ หตุ วั แปร (multivariate analysis) วธิ กี ํารวเิ ครําะหอ์ งคป์ ระกอบ (factor analysis) กํารวิเครําะห์เพื่อค้นหําองค์ประกอบเมืองที่ทําให้เมืองมีสมรรถภําพพื้นที่ต่ํางกัน ผู้วิจัย เลือกบริเวณที่มีค่ํา Integration สูง 10 บริเวณของแต่ละกรณี (ภําพประกอบ 7.7) กล่ําวคือ
สถํานี Kokura ใช้บริเวณ A ถึง G และสถํานี Kurosaki ใช้บริเวณ K ถึง T ในกํารวิเครําะห์
 


























































































   193   194   195   196   197