Page 226 - Research Design
P. 226

                 9.1
หลักพื้นฐานการเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรับการวิจัย
 หลักพื้นฐํานกํารเก็บรวบรวมข้อมูลสําหรับกําร วิจัยจําเป็นต้องให้ควํามสําคัญกับกํารเตรียมกํารและ กํารวํางแผนเพื่อให้ได้มําซ่ึงข้อมูลที่มีคุณภําพและเพียง พอทสี่ ํามํารถนํา มําใชใ้ นกระบวนกํารวจิ ยั ได้ โดยจะตอ้ ง คํา นงึ ถงึ กํารวํางแผนกอ่ นกํารเกบ็ ขอ้ มลู ควํามนํา่ เชอื่ ถอื ของข้อมูล วิธีกํารและคุณภําพของเครื่องมือ โดยมี รํายละเอียดดังต่อไปนี้
ประการแรก การวางแผนก่อนการลงมือเก็บ รวบรวมข้อมูล
กํารวํางแผนก่อนกํารลงมือเก็บรวบรวมข้อมูล จําเป็นต้องพิจํารณํา 3 ประเด็นน้ีคือ
หนึ่ง ประเด็นหรือตัวแปรมีอะไรบ้ําง ขอบเขต ของตวั แปรนนั้ คอื อะไร ควรแจกแจงออกมําใหค้ รบถว้ น
สอง แหลง่ ขอ้ มลู ของแตล่ ะประเดน็ หรอื ตวั แปร แต่ละตัวคืออะไร
สําม วิธีกํารดึงหรือสกัดข้อมูลจํากแต่ละแหล่ง เป็นอย่ํางไร ต้องใช้เครื่องมืออะไรหรือไม่
ประการทส่ี อง การสรา้ งความนา่ เชอื่ ถอื ใหก้ บั
ข้อมูล
กํารสร้ํางควํามน่ําเช่ือถือให้กับข้อมูลเพ่ือให้ ประเดน็ หรอื ตวั แปรนนั้ ไดข้ อ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ ง มคี วํามคลําด เคลอื่ นนอ้ ยทสี่ ดุ ซงึ่ โดยทว่ั ไปใชห้ ลกั กํารตรวจสอบดว้ ย วิธียืนยันแบบสํามเส้ํา (triangulation) ดังน้ี
การตรวจสอบยนื ยนั ดว้ ยวธิ กี าร (triangulation of methods) มีวิธีกํารเก็บข้อมูลในประเด็นหรือ ตัวแปรเดียวกันอย่ํางน้อย 3 วิธีกํารที่แตกต่ํางกัน
 ภาพประกอบ 9.1 การวางแผนการเก็บข้อมูลตามรายตัวแปร
 





















































































   224   225   226   227   228