Page 236 - Research Design
P. 236
216 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
3. การบันทึกภาพ
ผู้สังเกตกํารณ์ต้องระบุก่อนว่ํา “อะไร” คือสิ่ง ที่ต้องกํารบันทึกบ้ําง แล้วกําหนดตําแหน่งกํารตั้งกล้อง ถ่ํายภําพ ช่วงเวลําและระยะเวลําในกํารบันทึกภําพ
- ภาพนิ่ง (photographs) กํารบันทึกภําพนิ่ง ของกํารเกดิ พฤตกิ รรม กจิ กรรมในสถํานกํารณต์ ํา่ งๆ ใน พื้นที่ศึกษําเพื่อนํามํานับจํานวน ลงบันทึกในผัง พฤติกรรมในข้ันถัดไป
- ภาพเคลื่อนไหว (video) ในกรณีที่ต้องกําร ทําควํามเข้ําใจพฤติกรรม กิจกรรมที่มีควํามต่อเนื่องใน พื้นที่ศึกษํา รวมถึงควํามเร็วในกํารเคลื่อนที่ ลักษณะ กํารเคล่ือนที่ เป็นต้น
9.2.2 การสัมภาษณ์ (Interviews)
เป็นวิธีกํารเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยกํารพูดคุย สนทนําซักถําม ข้อมูลเป็นได้ทั้งข้อเท็จจริง ควํามคิด เห็น กํารคําดกํารณ์ควํามเป็นไปได้ กํารวิพํากษ์วิจํารณ์
ชนิดการสัมภาษณ์
(1) การสมั ภาษณเ์ ชงิ ชาตพิ นั ธ์ุ (Ethnographic Interview) กํารสัมภําษณ์เกี่ยวกับประสบกํารณ์ เรื่องรําวต่ํางๆ ผ่ํานมุมมองของผู้ถูกสัมภําษณ์ โดยให้ เลํา่ ถงึ เหตกุ ํารณแ์ ละเรอื่ งรําวทไี่ ดป้ ระสบหรอื รบั รขู้ อ้ มลู ที่ได้มักมีควํามละเอียดลึกซ้ึง และส่วนมํากดําเนินกําร สมั ภําษณภ์ ํายในพน้ื ทจี่ รงิ หรอื ในบรบิ ทของสถํานกํารณ์ เช่น กํารสัมภําษณ์ชีวิตกํารทํางํานของคนทํางํานใน สํานักงํานที่อยู่ใจกลํางเมือง
(2) การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ (Experts Interview) เป็นกํารเก็บข้อมูลเก่ียวกับควํามคิดเห็น ข้อเสนอแนะและมุมมองจํากควํามเช่ียวชําญ ควํามรู้ที่ มีหรือประสบกํารณ์ของผู้ถูกสัมภําษณ์
โครงสร้างการสัมภาษณ์ โดยทั่วไปมี 3 ลักษณะคือ - กํารสัมภําษณ์แบบมีโครงสร้ําง (structured interviews) กํารสัมภําษณ์ที่กําหนดคําถําม ที่ชัดเจน
มําก่อนกํารดําเนินกํารสัมภําษณ์จริง
- กํารสัมภําษณ์แบบไม่มีโครงสร้ําง (non-
structured interviews) กํารสัมภําษณ์ที่ไม่มีกําร กําหนดคําถํามที่ชัดเจนมํา คําถํามส่วนมํากเกิดข้ึนมํา ในระหว่ํางกํารสัมภําษณ์
- กํารสัมภําษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้ําง (semi- structures interviews) เป็นกํารสัมภําษณ์ท่ีกําหนด ประเด็นคําถํามไว้คร่ําวๆ ก่อนกํารสัมภําษณ์จริง