Page 234 - Research Design
P. 234
214 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
ตัวอย่างการสังเกตการณ์
ในการศึกษาแนวคิดแอคทีฟดีไซน์ (Active design) และกิจกรรมทางกายของพนักงาน อาคารสานักงานในพื้นที่สาธารณะ ของวริษฐา เจริญยิ่งไพศาล และจุฬวดี สันทัด. (2563). มีการวิเคราะห์รูปแบบกิจกรรมการใช้พื้นที่ แบ่งเป็นลักษณะกิจกรรม 3 ลักษณะคือ กิจกรรม แบบเคลื่อนที่ กิจกรรมแบบหยุดนิ่ง กิจกรรมเชิงสังคมหรือการมีปฏิสัมพันธ์ เพื่อนา มาวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรด้านสภาพแวดล้อมกายภาพกับกิจกรรมการใช้พื้นที่สาธารณะของ อาคารสานักงานและบริบทข้างเคียง
การสงั เกตและบนั ทกึ เพอื่ วเิ คราะหร์ ปู แบบกจิ กรรมการใชพ้ นื้ ที่ในลกั ษณะการจบั จองพนื้ ที่ และการเลือกเส้นทางของคนเดินเท้าในระหว่างวันทางาน (อังคาร-พฤหัสบดี) ในพื้นที่ในและ รอบนอกอาคารกรณีศึกษา เป็นอาคารสานักงานย่านสีลม ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 5 เมษายน พ.ศ. 2561 ผู้ถูกสังเกต 3 กลุ่มได้แก่ พนักงานสานักงาน เจ้าหน้าที่ดูแลอาคาร และผู้มาเยือน
การสังเกตแบ่งเป็น 5 ช่วงคือ (1) 8.00-9.00 น. (2) 10.00-11.00 น. (3) 12.00- 13.00 น. (4) 14.30-15.30 น. และ (5) 17.00-18.00 น.
ประเด็นการสังเกตแบ่งเป็น 4 กิจกรรม ได้แก่ (1) ยืน (2) นั่ง (3) เดิน และ (4) การ มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
วธิ กี ารสงั เกตการณล์ กั ษณะทางกายภาพและพฤตกิ รรมการใชพ้ นื้ ทขี่ องอาคารสา นกั งาน มี 2 รูปแบบ ได้แก่
1. การบนั ทกึ รปู แบบกจิ กรรมของการจบั จองพนื้ ที่ (static snapshots) กจิ กรรมเคลอื่ นที่ กิจกรรมหยุดนิ่ง และการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
2. การเลือกเส้นทางสัญจรของคนเดินเท้า (movement traces) โดยสุ่มเลือกตัวอย่าง ผู้คนที่เดินในพื้นที่โดยมีจุดเริ่มต้นบริเวณโถงลิฟต์ชั้นล่าง (ground floor) กาหนดเวลาในการ สังเกตการณ์ตัวอย่างละ 10 นาที และสิ้นสุดการเก็บข้อมูลเมื่อหยุดทากิจกรรมเกินกว่า 3 นาที (ให้ถือว่าถึงจุดหมายปลายทางแล้ว)