Page 247 - Research Design
P. 247

                 การเก็บรวบรวมข้อมูล 227
 อําจต้องมีกํารทดสอบต้นแบบด้วยโปรแกรมประเมิน กํารประหยัดพลังงําน เป็นต้น
(2) รูปร่ําง รูปลักษณ์ รูปทรงที่ปรํากฏ (appearance) เป็นมิติด้ํานประสบกํารณ์เชิงกํารรับรู้ เม่ือมองเห็น สัมผัส เข้ําไปใช้งํานหรือเข้ําไปในพ้ืนที่ กํารออกแบบมิติทํางกํายภําพท่ีสํามํารถแก้ปัญหําและ ตอบวัตถุประสงค์หลักได้ เป็นต้น
(3) ผู้ใช้งําน เป็นกํารประเมินท่ีเก่ียวข้องกับ ผู้ใช้งํานไม่ว่ําจะเป็นควํามง่ํายยํากในกํารเข้ําถึง กํารใช้ งําน ควํามพงึ พอใจ ควํามเปน็ มติ รและควํามคดิ เหน็ ของ ผู้ใช้งําน เป็นต้น
(4) ควํามคุ้มค่ํา เช่น ต้นทุน กํารผลิต ระยะ เวลํา เป็นต้น
วิธีการประเมิน กํารประเมินต้นแบบหรือสิ่งท่ี พัฒนําจะมีกํารประเมินเป็น 2 ช่วงคือ กํารประเมิน ระหว่ํางกํารพัฒนําต้นแบบ ส่วนมํากเป็นกํารรับฟัง ควํามคิดเห็น ข้อวิจํารณ์ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับต้นแบบ ที่กําลังพัฒนํา ซ่ึงอําจเกิดจํากผู้ร่วมทีมวิจัยเอง ผู้เชี่ยวชําญ ผู้มีประสบกํารณ์ และอําจเป็นกํารทดสอบ สมรรถนะกํารทํางํานบํางส่วนของต้นแบบก็ได้ กําร ประเมินในระหว่ํางกระบวนกํารพัฒนําน้ีเรียกว่ํา การประเมินระหว่างการพัฒนา (formative assessment) ส่วนกํารประเมินต้นแบบสุดท้ํายเมื่อ กระบวนกํารพัฒนําแล้วเสร็จเรียกว่ํา การประเมิน รวบยอด (summative assessment)
ตัวอย่ํางประเด็นกํารประเมินรวบยอด เช่น
- กํารใช้งํานได้สําเร็จตํามวัตถุประสงค์ต้นแบบ โดยพจิ ํารณําตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ จนจบกํารใชง้ ําน อําจประเมนิ ร่วมกับระยะเวลํา ควํามผิดพลําดท่ีเกิดขึ้น กํารเรียนรู้ เมื่อเร่ิมใช้งํานคร้ังแรก
- กํารเปรียบเทียบกับคู่แข่ง หรือชิ้นงํานอ่ืนท่ีมี ลักษณะเดียวกัน (comparing products)
- กํารประเมินสําหรับกําหนดทิศทําง เป็นกําร ประเมินเพื่อใช้เป็นกํารออกแบบทิศทํางหรือกําร กํา หนดโครงสรํา้ งกํารใชง้ ํานพนื้ ที่ เชน่ ลํา ดบั กํารเขํา้ ถงึ ควํามซับซ้อนในกํารรับรู้ทิศทําง กํารออกแบบตัวช่วย ผู้ใช้งํานกรณีอยู่ในสถํานกํารณ์ฉุกเฉิน ในกรณีต้นแบบ ประเภทซอฟตแ์ วรห์ รอื ระบบจะใชส้ ํา หรบั ประเมนิ ควําม ยํากง่ํายและควํามรวดเร็วในกํารค้นหําสิ่งที่ต้องกําร
- กํารมองเห็นหรือรู้ว่ํามีอะไรอยู่ (awareness) ใชใ้ นกํารประเมนิ สง่ิ ทต่ี อ้ งกํารใหผ้ ใู้ ชง้ ํานสงั เกตเหน็ หรอื รับรู้ว่ํามีอยู่ มักใช้ต้นแบบท่ีไม่ได้ถูกใช้งํานบ่อยแต่ผู้ใช้ งํานพื้นท่ีจําเป็นต้องรู้และสังเกตเห็นได้เมื่อต้องใช้งําน อําทิ ทํางหนีไฟ อุปกรณ์ช่วยชีวิตฉุกเฉิน เป็นต้น ใน กํารพัฒนําต้นแบบที่เป็นระบบหรือเว็บไซต์อําจใช้ ประเมินกํารนําสํายตํา พ้ืนท่ีกํารมองเห็นโดยใช้ข้อมูล กํารเคลื่อนที่ของตํา (eye-tracking data)
- กํารประเมินกํารเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลัง กํารใช้งําน กํารเปล่ียนแปลงข้ึนอยู่เป้ําหมํายของ ต้นแบบแต่ละประเภทว่ําต้องกํารให้เกิดผลอย่ํางไร ไม่ ว่ําจะเป็นเชิงพฤติกรรมกํารรับรู้ กํารเกิดประสบกํารณ์























































































   245   246   247   248   249