Page 246 - Research Design
P. 246
226 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
9.2.7 การประเมินแนวความคิด
กํารประเมินแนวควํามคิด เป็นกํารวิเครําะห์ถึง ควํามเป็นไปได้และควํามเหมําะสมของผลผลิตหรือสิ่ง ที่สร้ํางจํากควํามคิด เช่น ต้นแบบหรือแบบจําลองที่ ผวู้ จิ ยั พฒั นําขนึ้ มํา ในทนี่ จี้ ะเรยี กวํา่ “ตน้ แบบ” ตน้ แบบ ดงั กลํา่ วไมจ่ ํา เปน็ ตอ้ งเปน็ ผลงํานสดุ ทํา้ ยของกํารพฒั นํา หรือกํารวิจัยออกแบบ แต่สํามํารถเป็นแบบร่ําง แบบ จําลองท่ีอยู่ในระหว่ํางกระบวนกํารวิจัยกํารออกแบบ ก็ได้ วิธีกํารประเมินท่ีง่ํายและรวดเร็วที่สุดในกําร ประเมินแนวควํามคิดคือ กํารรับฟังควํามคิดเห็นและ ข้อวิจํารณ์จํากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
อย่ํางไรก็ตํามกํารประเมินแนวควํามคิดท่ี เป็นกํารประเมินต้นแบบสุดท้ํายจําเป็นต้องมีควําม รัดกุมและมีควํามเป็นระบบมํากท่ีสุด และกํารประเมิน ตอ้ งมกี ํารยอ้ นกลบั ไปคํา ถํามวจิ ยั หลกั หรอื วตั ถปุ ระสงค์ วิจัยหลัก รํายละเอียดดังนี้
กาหนดเกณฑ์ท่ีใช้ในการประเมิน โดยท่ัวไป เกณฑ์กํารประเมินต้องกําหนดข้ึนจํากคําถํามหลักหรือ วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของกํารพฒั นําควํามคดิ อยํา่ งไรกต็ ําม กํารประเมินต้นแบบโดยท่ัวไปมีเกณฑ์ที่เก่ียวข้อง ต่อไปน้ี
(1) สมรรถนะ (performance) เป็นมิติด้ําน ควํามสํามํารถของต้นแบบเชิงกํารใช้งํานตํามบทบําท หน้ําที่ (function) เช่น กํารแก้ปัญหําได้ เป็นทํางเลือก ท่ีทําให้คุณภําพชีวิตดีขึ้นได้ เช่น ต้นแบบพื้นท่ีจอด จักรยํานท่ีป้องกันกํารสูญหําย เกณฑ์ประเมินจะ เก่ียวข้องกับควํามสํามํารถในกํารจอดจักรยํานได้ และ ควํามสํามํารถในกํารป้องกันจักรยํานหําย เป็นต้น
อย่ํางไรก็ตํามกํารประเมินสมรรถนะอําจเป็น เร่ืองเชิงเทคนิคท่ีต้องกํารควํามเช่ียวชําญเฉพําะด้ําน ทง้ั นขี้ นึ้ อยกู่ บั เปํา้ หมํายของโครงกํารวจิ ยั นนั้ ๆ เชน่ กําร ประเมนิ สมรรถนะดํา้ นกํารประหยดั พลงั งํานของอําคําร
ประเด็นใน panel session จะมุ่งไปที่ผลกระทบและปัจจัยคุณค่าต่อการเพิ่มความน่า ดึงดูดในการมองเห็นของพื้นที่ริมน้าในเมือง ได้แก่ ธรรมชาติกับสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น (natural versus artificial) แมน่ า้ เปน็ อปุ สรรคตอ่ การเตบิ โตของเมอื งกบั เมอื งเปน็ อปุ สรรคตอ่ ระบบกลไก ธรรมชาติของแม่น้า (The river as a barrier to city growth versus the city as a barrier to river dynamics) การควบคุมกับการปรับตัวเข้าหากัน (control versus adaptation) และ การทาให้เป็นมาตรฐานเดียวกันกับความหลากหลาย (normalization versus diversity)