Page 244 - Research Design
P. 244
224 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
9.2.6 การจัดกิจกรรมภาคสนามแบบมีส่วนร่วม (Participatory Workshop
Methods)
เป็นกํารเก็บข้อมูลในสภําพแวดล้อมจริงโดยให้ กลุ่มตัวอย่ํางหรือผู้ที่เกี่ยวข้องมําอยู่รวมกันท่ีใดท่ีหนึ่ง เช่น กํารจัดประชุม กํารระดมควํามเห็น กํารทําแผนท่ี (mapping) ซ่ึงอําจมีกํารสร้ํางสถํานกํารณ์และให้กลุ่ม ตัวอย่ํางลงมือทํากิจกรรม ให้มีส่วนร่วมในกํารช่วยคิด ช่วยทํา แสดงควํามเห็น เช่น กิจกรรมกํารมีส่วนร่วมใน กํารออกแบบพื้นท่ีสนํามเด็กเล่น กิจกรรมกํารระดม
ควํามคิดเห็นกํารแก้ปัญหําพื้นท่ี โดยผู้วิจัยต้องระบุ ขอบเขตกํารมีส่วนร่วมของกลุ่มตัวอย่ําง เช่น ร่วมกัน ค้นหําปัญหํา ควํามต้องกําร ร่วมกันคิดวํางแผน ร่วม กันออกแบบ เป็นต้น พร้อมท้ังกําหนดกลุ่มตัวอย่ําง ที่จะเข้ํามําร่วมกิจกรรมว่ํามีใครบ้ําง จํานวนเท่ําไร ในกํารดําเนินกิจกรรมต้องมีขั้นตอนกํารดําเนินกําร รํายละเอียดกํารมีส่วนร่วม อุปกรณ์ สถํานท่ี เวลํา ผดู้ แู ล และกํารบนั ทกึ ขอ้ มลู หลงั เสรจ็ สน้ิ อําจดํา เนนิ กําร สัมภําษณ์ผู้เข้ําร่วมกิจกรรมเก่ียวกับกิจกรรมที่ได้ทํา
ตัวอย่างการให้แหล่งข้อมูลมีส่วนร่วม (Participatory Methods)
Jorge Batista e Silva , Maria da Graça Saraiva, Isabel Loupa Ramos & Fátima Bernardo (2013: 163-185) ในการวิจัยเรื่อง Improving Visual Attractiveness to Enhance City–River Integration—A Methodological Approach for Ongoing Evaluation ในการ วิจัยนี้มีการสร้างเกณฑ์สาหรับการประเมินความน่าดึงดูดทางสายตา (visual attractiveness) ของพนื้ ทแี่ มน่ า้ กบั เมอื ง (city-river contexts) ผวู้ จิ ยั ใชว้ ธิ กี ารจดั ประชมุ ปฏบิ ตั กิ าร (workshop) ระดมความเห็นโดยจัดให้ผู้เชี่ยวชาญหลายสาขาจานวน 15 คนนั่งร่วมให้ความเห็นและอภิปราย (the panel experts) เกี่ยวกับกระบวนการประเมินความน่าดึงดูดของแม่น้าที่ผ่านพ้ืนที่เมือง (the attractiveness of urban rivers) และการให้คุณค่าความงามพื้นที่เชื่อมต่อระหว่างเมือง และแม่น้า ผู้เชี่ยวชาญที่เข้าร่วมมาจากสาขาที่หลากหลาย 9 สาขา ได้แก่ สถาปัตยกรรม (Architecture) ชีววิทยา (Biology) เศรษฐศาสตร์ (Economic) วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม (Environmental Engineering) จติ วทิ ยาสงิ่ แวดลอ้ ม (Environmental Psychology) ธรณวี ทิ ยา (Geomorphology) วิศวกรรมชลประทาน (Hydraulic Engineering) ภูมิสถาปัตยกรรม (Landscape Architecture) และผังเมือง (Urban Planning)