Page 34 - Research Design
P. 34
14 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
(3) การเผยแพรแ่ ละสอื่ สารกระบวนการวจิ ยั และผลวิจัยออกสู่สาธารณะ กํารเผยแพร่ท้ังรูปของ รํายงําน บทควําม กํารนําเสนอในเวทีสําธํารณะ ซ่ึงส่วนมํากเป็นกํารนําเสนอด้วยกํารเขียนเป็นหลัก เพื่อให้เกิดกํารตรวจสอบ กํารยืนยันควํามถูกต้อง กําร ตอ่ ยอดในเชงิ กํารพฒั นําควํามรู้ รวมถงึ กํารใชป้ ระโยชน์ ของผู้ที่เก่ียวข้อง เช่น กํารประชุมวิชํากํารในศําสตร์ท่ี เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้ําง ตลอดจนกําร ประชมุ วชิ ํากํารและสมําคมวชิ ําชพี ทปี่ รบั เปลย่ี นเนอื้ หํา ใหเ้ หมําะสมกบั กลมุ่ ผฟู้ งั ทเ่ี ปน็ นกั ปฏบิ ตั วิ ชิ ําชพี มํากขน้ึ เป็นต้น
ผลท่ีได้จํากกํารวิจัยถือเป็นองค์ควํามรู้ใหม่ท่ี ผู้วิจัยค้นพบ ซ่ึงต้องเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม รวมถึงมนุษยชําติ ทั้งนี้เป็นไปได้ทั้งกํารแก้ปัญหํา กําร เสนอทํางเลือกใหม่ กํารตรวจสอบแนวควํามคิดหรือ ควํามรู้เดิม กํารสร้ํางข้อสรุปใหม่จํากข้อเท็จจริงที่พบ กํารเสนอแนวคิด หลักกําร ทฤษฎี เป็นต้น
1.3.2 พื้นฐานแนวคิดและกระบวนทัศน์ การแสวงหาความรู้
กํารวิจัยมีพื้นฐํานมําจํากกระบวนกํารทําง วทิ ยําศําสตร์ (scientific process) ซงึ่ เปน็ หลกั พน้ื ฐําน ของกํารค้นหําคําตอบ หรือกํารแสวงหําควํามรู้ ควํามจรงิ ทเี่ ปน็ ทย่ี อมรบั ในสําขําวชิ ําตํา่ งๆ โดยมวี ธิ กี ําร หลักประกอบด้วย กํารตั้งคําถําม กํารรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง กํารตั้งสมมติฐําน กํารตรวจสอบสมมติฐําน
และกํารสรปุ ผล ขอ้ คน้ พบทผ่ี ํา่ นกระบวนกํารนจี้ ะไดร้ บั กํารยอมรับและเช่ือว่ํามีควํามน่ําเช่ือถือ
ในกระบวนกํารทํากํารวิจัยต้องเร่ิมจํากกําร กํา หนดประเดน็ คํา ถํามหรอื สงิ่ ทตี่ อ้ งกํารหําคํา ตอบ เมอ่ื กําหนดคําถํามที่เป็นคําถํามวิจัยได้แล้ว ในขั้นถัดมําคือ กํารกํา หนดวธิ กี ํารหําคํา ตอบหรอื กํารออกแบบกํารวจิ ยั ซ่ึงขึ้นอยู่กับว่ําผู้วิจัยมีกระบวนทัศน์ (theoretical perspective) เก่ียวกับกํารแสวงหําควํามรู้ควํามจริง อย่ํางไร
กระบวนทัศน์ดังกล่ําวจะเป็นตัวกําหนดวิธี วทิยํา(methodology)วํา่ทําอยํา่งไรหรอืมแีนวทํางใด ทผี่ แู้ สวงหําควํามรจู้ ะสํามํารถไดค้ วํามรแู้ ละเขํา้ ถงึ ควํามรู้ ควํามจริงนั้นๆ ได้ ไม่ว่ําจะเป็นกํารสร้ํางสถํานกํารณ์ กํารทดลองเพ่ือดูผลที่เกิดขึ้นในกํารวิจัยเชิงทดลอง (experimental research) กํารหําคําตอบจําก สภําพกํารณ์ท่ีเป็นไปตํามธรรมชําติไม่มีกํารแทรกแซง จํากผู้วิจัยในกํารวิจัยเชิงสํารวจ (survey research) กํารวิจัยเชิงสํารวจที่เป็นกํารค้นหําควํามสัมพันธ์ ระหว่ํางตัวแปร (analytical survey) หรือกํารวิจัยเชิง สหสัมพันธ์ (correlation research) เป็นต้นซึ่งแต่ละ วิธีวิทยําก็จะนําไปสู่วิธีกํารและขั้นตอนกํารหําคําตอบ (methods) ที่แตกต่ํางกันไปดังภําพประกอบ 1.1