Page 36 - Research Design
P. 36

                 16 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
 กรณกี ลมุ่ ผทู้ ํา วจิ ยั มคี วํามเชอื่ วํา่ ควํามรคู้ วํามจรงิ เป็นสิ่งเดียว มีควํามเป็นปรนัย (objectivity) ท่ีเช่ือว่ํา ข้อสรุปต่ํางๆ จําเป็นต้องอยู่บนพ้ืนฐํานของข้อเท็จจริง เชิงประจักษ์ เงื่อนไขที่เป็นจริงต้องไม่ขึ้นอยู่กับกําร ตีควํามท่ีเกิดจํากควํามรู้สึก ควํามคิดเห็น ข้อสรุปท่ีได้ สํามํารถนําไปใช้ได้ในสํากลและอธิบํายปรํากฏกํารณ์ ตํา่ งๆ ไดใ้ นบรบิ ทวงกวํา้ ง กลํา่ วคอื ตอ้ งกํารใหข้ อ้ คน้ พบ ซึ่งเป็นควํามรู้ท่ีได้สํามํารถใช้อธิบํายปรํากฏกํารณ์ใน บรบิ ทอนื่ ๆ ไดด้ ว้ ย
กํารเข้ําถึงควํามรู้ควํามจริงด้วยวิธีน้ีให้ควําม สําคัญกับควํามเป็นระบบที่เน้นหลักฐํานปรํากฏ ไม่ใช้ กํารตีควําม ดังน้ันกํารวิจัยจึงต้องวํางแผน ทํานํายผล ลว่ งหนํา้ มลี กั ษณะเขม้ งวดยดึ ตํามหลกั กํารวทิ ยําศําสตร์ อย่ํางเคร่งครัด เรียกกลุ่มควํามเชื่อน้ีว่ํา ฐานความเชื่อ แบบประจักษนิยม (positivism) กํารออกแบบกําร วิจัยจึงออกมําในรูปของวิธีเชิงปริมําณ (quantitative approaches) เช่น กํารวิจัยเชิงทดลอง กํารวิจัยท่ี เป็นกํารจําลองสภําวกํารณ์ด้วยคอมพิวเตอร์หรือแบบ จําลองทํางคณิตศําสตร์ ตัวแปรในงํานวิจัยเป็นตัวแปร ทํางวทิ ยําศําสตรธ์ รรมชําตหิ รอื ตวั แปรเชงิ กํายภําพ ฐําน ควํามเช่ือน้ีพบได้ในกลุ่มสําขําควํามรู้ทํางวิทยําศําสตร์ และเทคโนโลยี
ในขณะที่กลุ่มสําขําทํางด้ํานสังคมศําสตร์และ มนุษยศําสตร์ กลุ่มนี้มีควํามเชื่อว่ําควํามรู้ควํามจริงมี หลํายแบบตํามมิติกํารรับรู้มีลักษณะเฉพําะตัวเฉพําะ บรบิ ทและเปน็ พลวตั เชอ่ื วํา่ ควํามรมู้ ลี กั ษณะเปน็ อตั นยั (subjective) ที่เกิดขึ้นจํากกํารตีควําม กํารให้
ควํามหมําย ควํามเข้ําใจปรํากฏกํารณ์ไม่มีลักษณะเป็น สํากล ผลวิจัยเป็นข้อสรุปท่ีเกิดจํากกํารให้เหตุผลแบบ อุปนัยจํากข้อมูลหลักฐํานที่สะท้อนทัศนะหรือมุมมอง ของผคู้ นทเี่ กยี่ วขอ้ ง เรยี กวํา่ ฐานความเชอื่ แบบตคี วาม (interpretivism) กํารออกแบบกํารวิจัยจึงออกมําใน รปู ของวธิ กี ํารเชงิ คณุ ภําพ (qualitative approaches)
นอกจํากสองฐํานควํามเชอื่ ดงั กลํา่ วขํา้ งตน้ มอี กี กลุ่มควํามเชื่อท่ีน่ําสนใจเก่ียวกับควํามรู้ควํามจริงคือ กลุ่มฐานความเช่ือแบบปฏิบัตินิยม (pragmatism หรือ utilitarianism) กลุ่มนี้มุ่งเน้นแสวงหําควํามรู้ ควํามจริงท่ีสํามํารถนําไปปฏิบัติได้ มีประโยชน์ มีควําม เช่ือในผลหรือเน้ือหําสําระทํางกํารปฏิบัติ เป็นสําขําที่ ใหค้ วํามสํา คญั กบั ควํามรทู้ สี่ ํามํารถนํา ไปใชป้ ระโยชนก์ อ่ ให้เกิดผลทํางบวกในกํารดํารงชีวิตของมนุษย์ มํากกว่ํา กํารแสวงหําควํามรู้ท่ีเป็นนํามธรรม วิธีกํารเข้ําถึง ควํามรู้กลุ่มนี้จะมีลักษณะผสมผสํานท้ังเชิงปริมําณ และเชิงคุณภําพ (mixed-methods approaches)
อย่ํางไรก็ตํามกํารวิจัยเป็นกระบวนกํารท่ี ซับซ้อนต้องกํารควํามรัดกุม มีระบบระเบียบเป็นขั้น เป็นตอน ทั้งน้ีเพื่อเป็นกํารรับประกันควํามน่ําเชื่อถือ และควํามถกู ตอ้ งของขอ้ คน้ พบจํากกํารวจิ ยั นนั้ ๆ ดงั นนั้ จึงเป็นควํามท้ําทํายของผู้วิจัยที่จําเป็นต้องทําควําม เข้ําใจถึงหัวใจและแก่นแท้ของหลักกํารวิจัย เม่ือเกิด ควํามเข้ําใจนี้แล้วผู้วิจัยก็จะสํามํารถใช้ควํามคิด ออกแบบวธิกีํารคน้หําคําตอบหรอืกํารทําวจิยัไดอ้ยํา่งมี ประสิทธิภําพและเหมําะสม




























































































   34   35   36   37   38