Page 37 - Research Design
P. 37

                 การวิจัยกับสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง 17
  ประเภทของการวิจัย
กรณแี บง่ ตามฐานคดิ เกยี่ วกบั วธิ กี ารแสวงหาความรคู้ วามจรงิ จะสามารถจา แนกงานวจิ ยั เป็น 2 ประเภทคือ
- การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) กรณีที่ผู้วิจัยมีทัศนะต่อความรู้ ความจรงิ เปน็ แบบปรนยั ใชว้ ธิ กี ารเขา้ ถงึ ความรใู้ นฐานความเชอื่ แบบประจกั ษนยิ ม (positivism) - การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) เป็นกรณีที่ผู้วิจัยมีความเชื่อว่าความรู้ เป็นได้หลายแบบตามมิติการรับรู้ มีทัศนะต่อความรู้เป็นแบบอัตนัยที่มาจากการตีความ
(interpretivism)
กรณีแบ่งตามลักษณะการจัดกระทากับสถานการณ์ การจัดกระทาเป็นการสร้าง
สถานการณ์แล้ววัดผลลัพธ์ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ
- การวิจัยเชิงทดลอง (experiment research) การวิจัยกึ่งทดลอง (quasi-experiment
research) กลุ่มนี้มีการจัดกระทาตัวแปรหรือสร้างสถานการณ์แล้ววัดผลที่เกิดขึ้น
- การวิจัยที่ไม่ใช่การทดลอง (non-experiment research) กลุ่มที่ไม่มีการจัดกระทา หรือไม่มีการสร้างสถานการณ์ใดๆ ตลอดการวิจัยจาแนกได้เป็น การวิจัยเชิงสารวจ (survey research) การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ (correlation research) การวิจัยความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (causal relationship research) การวิจัยกรณีศึกษา (case study research) การวิจัยเชิง
ประเมิน (evaluation research) เป็นต้น กรณีการใช้เวลาในการรวบรวมข้อมูลเป็นเกณฑ์จาแนก สามารถแบ่งได้เป็น
- การวิจัยระยะยาว (longitudinal research) เป็นการศึกษาต่อเนื่องหรือเก็บข้อมูล
หลายครั้งภายในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น การวิจัยติดตามการปรับการใช้งานพื้นที่พักอาศัย ตลอดระยะเวลา 10 ปี โดยมีการเก็บข้อมูลหลายครั้งตามช่วงเวลา
- การวจิ ยั ภาคตดั ขวาง (cross-sectional research) เปน็ การศกึ ษา ณ เวลาใดเวลาหนง่ึ เช่น การวิจัยการปรับใช้พื้นที่พักอาศัยของคนเจเนอเรชั่น Y ในปัจจุบัน โดยมีการเก็บข้อมูล 1 ครั้ง ณ เวลาปัจจุบันที่การวิจัยเกิดขึ้น
- การวจิ ยั ยอ้ นหลงั (retrospective research) เปน็ การวจิ ยั ณ เวลาปจั จบุ นั แตร่ วบรวม ข้อมูลย้อนหลังกลับไปโดยศึกษาจากหลักฐานปรากฎ บันทึกเรียบเรียง หรือการนึกย้อนหลัง เป็นต้น




















































































   35   36   37   38   39