Page 39 - Research Design
P. 39
การวิจัยกับสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง 19
3. การสร้างสมมติฐาน การสร้างสมมติฐานเป็นการคาดคะเนคาตอบของปัญหาหรือ คา ถามวจิ ยั วา่ ควรจะเปน็ ไปในลกั ษณะใด โดยอาศยั หลกั ของเหตผุ ลซงึ่ อาจไดม้ าจากเอกสารงาน วจิ ยั ทคี่ น้ ควา้ มาหรอื การสา รวจเบอื้ งตน้ วา่ คา ตอบทเี่ ปน็ ไปไดข้ องคา ถามวจิ ยั นนั้ มอี ะไรบา้ ง ทงั้ นี้ สมมติฐานซึ่งอาจมีได้หลายข้อจะช่วยทาให้ผู้วิจัยวางแผนออกแบบการวิจัยในขั้นถัดไปได้
4. การกาหนดแหล่งที่มาของข้อมูล ข้อมูลท่ีจะทาการวิจัยคืออะไร แหล่งข้อมูลคือ อะไรบ้าง เช่น บุคคล พื้นที่ อาคาร ชิ้นงาน ฯลฯ จะได้มาอย่างไร และเลือกหน่วยตัวอย่างด้วย วิธีการใด จานวนเท่าใดจึงจะเพียงพอ
5. การกาหนดเครื่องมือการวิจัย ซึ่งเป็นอุปกรณ์สาหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัย ต้องคานึงถึงตัวแปรในงานวิจัย แหล่งข้อมูล และการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือว่ามีความ เที่ยงตรงและน่าเชื่อถือขนาดไหน หรืออาจต้องทาการศึกษานาร่อง (pilot study) เพื่อทดลอง ใช้เครื่องมือวิจัยกับแหล่งข้อมูลย่อยๆ และตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
6. การเก็บรวบรวมข้อมูล คือการนาเครื่องมือวิจัยไปใช้กับแหล่งข้อมูลจริงของการวิจัย ถ้าเป็นการวิจัยเชิงทดลองจะเป็นการเริ่มลงมือทดลอง
7. การวิเคราะห์ข้อมูล ในขั้นตอนนี้รวมถึงการจัดการข้อมูล เช่น จัดประเภท จัดกลุ่ม เพื่อนาไปวิเคราะห์สาหรับการตอบคาถามวิจัยหรือการตรวจสอบสมมติฐาน ในขั้นตอนน้ีผู้วิจัย ตอ้ งนา เสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ที่ไดจ้ ากการวจิ ยั เทา่ นนั้ ไมน่ า ขอ้ คดิ เหน็ สว่ นตวั หรอื ทฤษฎหี รอื ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องมาอธิบาย
8. การอภิปรายผลและสรุปผลการวิจัย เป็นการอธิบายผลการวิเคราะห์ข้อมูลโดย สอดแทรกความคิดเห็น ข้อเสนอแนะที่อ้างอิงมาจากแนวคิด ทฤษฎีและผลการวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาประกอบเข้ากับผลของการวิเคราะห์ข้อมูล
9. การเขียนรายงานการวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะ