Page 72 - Research Design
P. 72
52 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
วิธีการวิจัย แบ่งเป็น 2 ช่วง
ช่วงแรก กํารพัฒนําแนวคิดและกํารค้นหําควํามรู้เกี่ยวกับรูปทรงที่เป็นไปได้ของ
อินเทอร์เฟซ และหลักกํารทํางํานเชิงชีวภําพ เป็นกํารค้นคว้ําควํามรู้จํากเอกสํารที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับมนุษย์ พื้นที่และสภําพแวดล้อม
รวมถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่ํางร่ํางกํายมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โดยวิเครําะห์ถึงกลไกที่นํามําใช้กับ ผิวอําคําร วิเครําะห์ถึงวิวัฒนํากํารและกลไกของเปลือกหุ้มที่จะใช้กับอําคําร จนได้แนวทําง กํารออกแบบเปลือกหุ้มอําคํารที่ตอบสนองกับสภําพแวดล้อม ผู้วิจัยนําแนวคิด Hydroskin มําใช้กับวัสดุผิวซึ่งจะตอบสนองกับสภําพแวดล้อมโดยใช้หลักกํารคํายและดูดควํามชื้นของไม้ ของ Akin Menges มําพัฒนําต่อ
ผู้วิจัยผสมผสํานหลักกําร the somatosensory system ของร่ํางกํายมนุษย์ที่ใช้ ควบคมุ กํารสอื่ สํารระหวํา่ งผวิ หนงั กบั สมองมําใชใ้ นกํารสรํา้ งตน้ แบบ กลํา่ วคอื กํารทํา งํานระหวํา่ ง ตัวกระตุ้นภํายนอก ตัวรับสัญญําณที่ผิวหนัง ระบบประสําทไขสันหลัง และสมอง
ภาพประกอบ 2.16 ตัวอย่างแนวคิดรูปทรงผิวอาคารแบบ Hydroskin
Note: From: Receptive Skins: Towards a somatosensitive architecture, โดย Chrisoula Kapelonis, 2018, MIT Media Lab.
สืบค้นจาก http:media.mit.edu/publications/receptive-skins/