Page 73 - Research Design
P. 73

                 การวิจัยที่เกี่ยวข้องกับบริบทสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง 53
 ช่วงที่สอง กํารพัฒนําต้นแบบ (physical prototype) เพื่อแสดงถึงแนวควํามคิด Receptive skin
แบบรํา่ งแรก เสนอเปน็ ชดุ อปุ กรณช์ ว่ ยหํายใจอสิ ระทฝี่ งั อยใู่ นตวั เปลอื กอําคําร ตน้ แบบนี้ เป็นกํารเสนอควํามคิดใหม่จํากระบบเปลือกอําคํารแบบ passive ไปเป็น receptive skin และ ต้นแบบสื่อกลํางที่เปลี่ยนกํารตอบสนองต่อสภําพแวดล้อมจํากระบบเครื่องกล (a machine- systems) ไปเป็นระบบวัสดุ (a material-systems model) ซึ่งผู้วิจัยใช้หลักกํารทํางํานของ ปอดและบอลลูนในกํารขยับตัวของวัสดุคือ ลมเข้ําอุปกรณ์เปิดออกและลมออกอุปกรณ์จะปิด
สถํานทที่ ดลองตน้ แบบคอื EscPod เปน็ พนื้ ทปี่ ฏบิ ตั กิ ํารทอี่ อกแบบสํา หรบั กํารวจิ ยั ดํา้ น พื้นที่และ human-building interface
การสร้างตัวช่วยหายใจด้วยหลักการทางานของปอด (a soft-pneumatic prototype) กํารเลือกวัสดุ ผู้วิจัยทดลองคุณสมบัติของวัสดุที่จะนํามําใช้หลํายชนิด เช่น Bio plastic แต่มีควํามไม่ยืดหยุ่น มีกลิ่น ผู้วิจัยเลือกซิลิโคนเนื่องจํากมีควํามยืดหยุ่นและสํามํารถ ปรับเปลี่ยนรูปร่ํางได้ตํามต้องกําร
ภาพประกอบ 2.17 ตัวอย่างการพัฒนาวัสดุและต้นแบบรูปทรงผิวอาคาร
Note: From: Receptive Skins: Towards a somatosensitive architecture, โดย Chrisoula Kapelonis, 2018, MIT Media Lab.
สืบค้นจาก http:media.mit.edu/publications/receptive-skins/
 


























































































   71   72   73   74   75