Page 85 - Research Design
P. 85
การวิจัยออกแบบสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง 65
อธิบําย (explanatory) กํารตีควําม (interpretive) กํารทดลอง (experimental) อําจมีกํารคํานวณทําง คณิตศําสตร์ (mathematical) กํารประมวลผลด้วย คอมพวิ เตอร์ (computational) หรอื กํารใชเ้ ทคโนโลยี ในกระบวนกํารออกแบบ อีกท้ังไม่มีลําดับข้ันตอนท่ี ชัดเจน กํารวิจัยประเภทนี้ให้ควํามสําคัญกับผลผลิต สุดท้ํายหรือผลงํานมํากกว่ําตัวกระบวนกําร กํารเผย แพรค่ วํามรปู้ ระเภทนสี้ ว่ นมํากเปน็ กํารสอื่ สํารผํา่ นภําพ กํารทําต้นแบบ กํารจัดนิทรรศกําร กํารติดต้ัง กํารจัด แสดง
3.1.2 การวิจัยกับการออกแบบ
1) อะไรคือการวิจัยออกแบบ (Design Research)
นกั วชิ ํากํารหรอื นกั วธิ วี ทิ ยําในสํายกํารออกแบบ ตํา่ งมคี วํามเหน็ วํา่ กํารออกแบบมธี รรมชําตขิ องควํามรู้ ที่มีลักษณะเฉพําะของตนเองท่ีแตกต่ํางจํากสําย วิทยําศําสตร์ สํายมนุษยศําสตร์และสังคมศําสตร์ ซ่ึงเป็นสํายหลักในกํารแบ่งประเภทควํามรู้ในปัจจุบัน ดังที่ ไนแกน บํายําสิท (Nigan Bayasit. 2004: 1) มี มุมมองต่อกํารวิจัยออกแบบในมิติของวิธีวิทยํากําร
ออกแบบและศําสตร์กํารออกแบบ (the design methodology and design science perspectives) วํา่ กํารวจิ ยั ออกแบบเปน็ สง่ิ ทกี่ ํารออกแบบพยํายํามทํา หน้ําท่ีต่อมนุษยชําติด้วยกํารตอบคําถํามในลักษณะที่ เป็นกํายภําพที่มนุษย์เป็นผู้สร้ํางข้ึนโดยเฉพําะใน ประเด็นต่อไปนี้
- กํารวจิ ยั ออกแบบเปน็ เรอื่ งทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สง่ิ ที่ มนุษย์สร้ํางข้ึนในรูปแบบของกํายภําพ (the physical embodiment of man-made things) กลํา่ วคอื กําร ค้นคว้ําว่ําสิ่งท่ีสร้ํางข้ึนทําอะไรได้บ้ําง มีบทบําทและมี กลไกกํารทํางํานอย่ํางไร
- กํารวิจัยออกแบบเป็นเร่ืองเก่ียวกับกิจกรรม กํารสรํา้ งขน้ึ มํา (construction) กลํา่ วคอื เปน็ กํารตอบ คําถํามว่ํานักออกแบบทํางํานอย่ํางไร พวกเขําคิด อย่ํางไร และมีวิธีกํารดําเนินกํารออกแบบอย่ํางไร
- กํารวจิ ยั ออกแบบเปน็ เรอ่ื งทเ่ี กยี่ วกบั สง่ิ ทเี่ ปน็ ผลลพั ธข์ องกจิ กรรมกํารออกแบบ กลํา่ วคอื สง่ิ เหลํา่ นนั้ มีรูปลักษณ์ปรํากฏอย่ํางไร และมันมีควํามหมํายอะไร
- กํารวิจัยออกแบบเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ กํารประกอบกันเป็นโครงร่ํางหรือรูปทรง (the embodiment of configuration)
“... that we do not have to turn design into an imitation of science, nor do we have to treat design as a mysterious, ineffable art.” and “... we must avoid totally swamping our research with different cultures imported either from science or art.”
(Nigel Cross. 1999: 7)