Page 7 - ฟิสิกส์เล่ม 1
P. 7
6
1.7 การบันทึกผลการค านวณ
ึ
ู
ี
ั
้
ู
ี
่
ในการศกษาเราไม่เพยงใช้แตข้อมลที่วดไดโดยตรงเท่านั้น เรายังมการน าข้อมลที่ได้มาคานวณ
่
ู
เพื่อใช้ประโยชน์อื่นตอไป การน าเอาจ านวนที่มเลขนัยส าคัญตางกันมาบวก ลบ คณ และหารกัน มีวิธีท าต่างๆ
่
ี
จึงจะท าให้ได้ตัวเลขที่มีความหมาย
ตัวอย่าง 1.3
ทองเหลืองแท่งหนึ่งมวล 26.5 กรัม มีปริมาตร 3.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาความหนาแน่นของทองเหลือง
มวล
วิธีท า จาก ความหนาแน่น =
ปริมาตร
26.5
แทนค่า =
3.0 3
3
= 8.833 g/cm
กรณีนี้จะพิจารณาจ านวนตัวเลขนัยส าคัญที่น้อยที่สุดเป็นหลัก 26.5 มีเลขนัยส าคัญ 3 ตัว ส่วน 3.0 ม ี
เลขนัยส าคัญ 2 ตัว ดังนั้นจึงควรใช้ตัวเลขเพียง 2 ตัว
ตอบ ความหนาแน่นของทองเหลืองเท่ากับ 8.8 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
1.8 การวิเคราะห์ผลทดลอง
เพื่อให้มองเห็นความสัมพันธ์ เราจะใช้การเขียนกราฟเพื่ออธิบายข้อมูลที่ได้จากการทดลอง โดยปกติจะนิยม
ใช้ตัวแปรต้นเป็นแกนนอน และตัวแปรตามเป็นแกนตั้ง และสามารถใช้ความชันของกราฟเพื่อหาความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลได้เช่นกัน เช่น กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะยืด ความชันที่ได้คือค่าคงตัวสปริง
รูป 1.3 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะยืดของสปริง