Page 45 - คู่มือการปฎิบัติงานปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
P. 45
�
ื
- ช่อย่อสาหรับใช้แทนช่อเต็มของช่อผู้ทาภาชนะ (ต้องได้รับอนุญาตจาก สมอ.
ื
�
ื
ก่อนจึงน�าไปแสดงที่ภาชนะได้
3. ท�าการปลอมทั้งหมด
4. ปลอมโดยใช้ภาชนะบรรจุของจริง แต่น�้ามันเครื่องไม่ใช่ของแท้
5. แสดงฉลากโดยมีเจตนาหลีกเลี่ยงกฎหมายและจงใจให้ผู้บริโภคเข้าใจผิด
6. ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตหรือน�าเข้าไม่ได้รับใบอนุญาต
9. วิธีตรวจสอบน�้ำมันหล่อลื่นใช้แล้ว (น�้ำมันเครื่องเก่ำ)
ตาม พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 เป็นกฎหมายที่ใช้ควบคุมเคมีภัณฑ์ซึ่งเป็น
วัตถุอันตรายนามันหล่อล่นใช้แล้ว ตาม พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 ซ่งอยู่ในบัญช ี
ื
�
ึ
้
ื
�
รายช่อวัตถุอันตรายของกรมโรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ.2543ลาดับ 44 ประเภทของเสียเคม ี
วัตถุ บัญชี ข ล�าดับที่ 1099-1209
ึ
�
- ผู้ผลิต ผู้นาเข้า ผู้ส่งออก และผู้มีไว้ในครอบครองซ่งวัตถุอันตราย ชนิดท่ 3
ี
(น�้ามันหล่อลื่นใช้แล้ว) ต้องปฏิบัติตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ี
ื
- ผู้ใดมีวัตถุอันตรายชนิดท่ 3 (หล่อล่นใช้แล้ว) ไว้ในความครอบครองโดยไม่ได้
รับอนุญาต (เกิน 20 ลิตร/20 กก.) วอ.8 โทษจ�าคุไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท
หรือทั้งจ�าทั้งปรับ
ื
้
- ผู้ใดได้รับอนุญาตให้มีวัตถุอันตรายชนิดท่ 3 (นามันหล่อล่นใช้แล้ว)ไม่ปฏิบัต ิ
�
ี
ตามเงื่อนไขตามที่รัฐมนตรีประกาศก�าหนด ( มีเกินใบอนุญาต ) วอ.8 โทษจ�าคุกไม่เกิน 1
ปี ปรับไม่เกิน 1 แสนบาท หรือทั้งจ�าทั้งปรับ
ยกเว้น
1. ครอบครองเพื่อการค้าปลีก
2. ครอบครองเพื่อการใช้สอยส่วนบุคคล
3. ครอบครองเพื่อใช้ในราชการ
42 คู่มือการปฏิบัติงานปราบปรามการกระท�าผิดเกี่ยวกับน�้ามันเชื้อเพลิง