Page 38 - คู่มือการปฎิบัติงานปราบปรามการกระทำผิดเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
P. 38
11. กรณีการใช้อ�านาจพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.การค้าน�้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ.
2543 ตามมาตรา 31 มาตรา 32 และ มาตรา 33 เมื่อเสร็จสิ้นการตรวจค้นจับกุม ให้รีบ
รายงานเหตุผลและผลการตรวจค้นต่อผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปโดยด่วน (ตาม ป.วิ อาญา
มาตรา 92)
5. กำรส่งออกน�้ำมันทำงบกโดยฉ้อฉลภำษี (ภำรกิจเฝ้ำด่ำน)
วัตถุประสงค์และควำมส�ำคัญของกำรเฝ้ำด่ำน
1. ป้องกันมิให้รัฐสูญเสียรายได้ภาษีโดยวิธีการฉ้อฉล คือ
1.1 ไม่มีการส่งออกจริง แต่ขอคืนภาษีส่งออก (สินค้าส่งออกส่วนใหญ่รัฐจะ
คืนภาษีให้เพื่อส่งเสริมการส่งออกน�ารายได้เข้าประเทศ) ส่วนยอดที่ส่งออกน�ามาขาย
ในประเทศ
1.2 มีการส่งออกจริง แต่น�ากลับเข้ามาขายในประเทศ และขอคืนภาษีส่งออก
2. เพิ่มรายได้เข้ารัฐในการขายน�้ามันภายในประเทศ
ขั้นตอนภำรกิจ และกำรตรวจสอบเอกสำร
1. การเฝ้าจุด แบ่งก�าลังออกเป็น 2 ชุด
1.1 ชุดที่ 1 ประจ�าจุด ณ ด่านศุลกากร(ที่ท�าการ)
(1) ประสานข้อมูล ขอทราบรายละเอียดการส่งออกน�้ามันเชื้อเพลิง
โซลเว้นท์ ในแต่ละวัน (เจ้าหน้าที่ศุลกากร/ชิปปิ้ง) จัดท�าบันทึกรายการให้ละเอียดครบถ้วน
เช่น วัน เวลา ชื่อบริษัทส่งออก, ผู้ด�าเนินการส่งออก (ชิปปิ้ง), ชนิดจ�านวนปริมาณ, สถานี
ต้นทาง, ช่องการส่งออก, สถานที่รับปลายทาง, ชื่อผู้ขับขี่, ทะเบียนรถ ฯลฯ
(2) รถบรรทุกน�้ามัน เดินทางถึง ชิปปิ้งท�าพิธีการทางศุลกากรเสร็จสิ้น
(3) ก่อนรถบรรทุกน�้ามันฯ เดินทางออกจากด่านศุลกากรไป ช่องทาง
ส่งออกตรวจสอบเอกสาร เช่น
- ใบก�ากับการขนส่ง
- ใบขนสินค้าออก (กศก.101/1)
- ใบแสดงสินค้าส่งออกทางบก (ศบ.3)
- เอกสารขอคืนภาษี (ภษ.01-28)
คู่มือการปฏิบัติงานปราบปรามการกระท�าผิดเกี่ยวกับน�้ามันเชื้อเพลิง 37