Page 7 - เครื่องยารสขม และเมาเบื่อ
P. 7

ยาดํา



         ตําราไมเทศเมืองไทยกลาววา ประโยชนทางยาของยาดํา ใชรับประทานภายในเปนยาถายทอง ขับน้ําดี ถายพิษไข ถาย

         ขับพยาธิเสนดายในลําไส แตยาดําเมื่อถายทองใหมีปวดทอง บางคนกลายเปนบิดไดงาย ฉะนั้นคุมการใชไวดวย ในตํารา
         แพทยโบราณ ใชปรุงเขายาตมกันแทบทุกขนาน จนไดสมญาวา แทรกเปนยาดํา คนที่เปนริดสีดวงทวารหนัก ถาใชยาเขา

         ยาดํา มักจะทําใหโรคริดสีดวงกําเริบขึ้น

         ตําราไทยเภสัชกลาววา เปนยาระบายในลําไสสวนลางใกลทวารหนัก กินเวลา 8 ถึง 12 ชั่วโมงถึงถาย หามใชในโรคลําไส
         พิการและสตรีมีครรภหรือกําลังเลี้ยงบุตรดวยนม

         แพทยตําบลกลาววา ยาดํารสเบื่อเหม็นขมเล็กนอย ถายลมเบื้องสูงใหลงต่ํา กัดฟอกเสมหะและโลหิต






         ่
       วานหางจระเข้ (Aloe spp.) Xanthorrhoeaceae


















          Aloe arborescens Mill.               Aloe vera (L.) Burm.f. Aloe perryi Baker.
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12