Page 4 - E - Book ว 22201 ชุดที่ 2 เครื่องกล
P. 4

2. โมเมนต์


               1. โมเมนต์ของแรง (Moment of Force) หรือโมเมนต์ (Moment) หมายถึง ผลของแรงที่กระท าต่อวัตถุเพื่อให้

                                                                                                        ุ
        วัตถุหมุนไปรอบจุดหมุน ดังนั้น ค่าของโมเมนต์ของแรง คือ ผลคูณของแรงนั้นกับระยะตั้งฉำกจำกแนวแรงถึงจุดหมน
          (มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร แต่หน่วย กิโลกรัม-เมตร และ กรัม-เมตร ก็ใช้ได้ในการค านวณ)


                                                                                           ุ
               สูตรของโมเมนต์              โมเมนต์ = แรง × ระยะทางตั้งฉากจากแนวแรงถึงจุดหมน
                                                             หรือ M = F × l



               2. ชนิดของโมเมนต์   โมเมนต์มี 2 ชนิด คือ
                                                                                                           ิ
                       2.1 โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา คือ ค่าโมเมนต์ที่เกิดจากแรงซึ่งกระท าต่อคานให้หมุนไปในทิศทวนเข็มนาฬกา
                       2.2 โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา คือ ค่าโมเมนต์ที่เกิดจากแรงซึ่งกระท าต่อคานให้หมุนไปในทิศตามเข็มนาฬิกา


              ** โมเมนต์จะมีค่ำเป็นศูนย์ ก็ต่อเมื่อ

                       1. แรงมีค่าเป็นศูนย์

                       2. แนวแรงผ่านจุดหมุน


              3. สมดุลของคำน


               เมื่อคานอยู่ในภาวะสมดุลหรืออยู่นิ่งในแนวระดับ นั้นแสดงว่า ผลรวมของโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกาเท่ากับผลรวมของ

        โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา (โมเมนต์ลัพธ์ = 0) หรือ ผลรวมของแรงดึงคานลงเท่ากับผลรวมแรงดึงคานขึ้น (แรงลัพธ์ = 0)

               หลักกำรค ำนวณเรื่องคำน มีขั้นตอนดังนี้
               1.วาดรูปคาน พร้อมกับแสดงต าแหน่งของแรงที่กระท าบนคานทั้งหมด

                                                        ี
               2. หาต าแหน่งของจุดหมุนหรือจุดฟัลครัม ถ้าไม่มให้สมมติขึ้น
               3. ถ้าโจทย์ไม่บอกน้ าหนักของคานมาให้เราไม่ต้องคิดน้ าหนักของคานและถือว่าคานมีขนาดสม่ าเสมอกันตลอด
               4. ถ้าโจทย์บอกน้ าหนักคานมาให้ต้องคิดน้ าหนักคานด้วยโดยถือว่า น้ าหนักของคานจะอยู่ที่จุดกึ่งกลางคานเสมอ

               5. เมื่อคานอยู่ในสภาวะสมดุลโมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกาเท่ากับโมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา

                                                           ิ
               6. โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา หรือโมเมนต์ตามเข็มนาฬกามีค่าเท่ากับผลบวกของโมเมนต์ย่อยแต่ละชนิด
               หมายเหตุ : การได้เปรียบเชิงกลของคาน นอกจากจะดูจากค่า W และ E แล้ว อาจจะดูจาก อัตราส่วนระหว่างแขนของ

        ความพยายามกับแขนของความต้านทานก็ได้



                                                           M.A. =



                                                             แขนของความพยายาม
                                                   M.A.   =
                                                             แขนของความต้านทาน


        เครื่องกล (machine) สอนโดยครูรุ่งนภา  น่วมน้อย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  Page 4
   1   2   3   4   5   6   7   8   9