Page 16 - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
P. 16

16

               สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

                 กลุ่มที่                  ตัวชี้วัดระหว่างทาง                        ตัวชี้วัดปลายทาง
                 มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ

                                       โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ
                                       ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                   3     ว 2.1 ป.5/1 อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อทำให้   ว 2.1 ป.5/4 วิเคราะห์และระบุ

                         สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์      การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และ
                         ว 2.1 ป.5/2 อธิบายการละลายของสารในน้ำ โดยใช้          การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับไม่ได้

                         หลักฐานเชิงประจักษ์
                         ว 2.1 ป.5/3 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเมื่อเกิด
                         การเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์

                 มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่
                                       แบบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
                   4     ว 2.2 ป.5/1 อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรง      ว 2.2 ป.5/4 ระบุผลของแรง

                         ในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุในกรณีที่วัตถุอยู่นิ่งจาก  เสียดทานที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง
                         หลักฐานเชิงประจักษ์                                   การเคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐาน
                         ว 2.2 ป.5/2 เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทำต่อวัตถุทอยู่ใน  เชิงประจักษ์
                                                                        ี่
                         แนวเดียวกันและแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ

                         ว 2.2 ป.5/3 ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดแรงที่กระทำต่อวัตถุ
                         ว 2.2 ป.5/5 เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงที่อยู่ใน

                         แนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ
                 มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
                                       สสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ

                                       เสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
                   5     ว 2.3 ป.5/1 อธิบายการได้ยินเสียงผ่านตัวกลางจากหลักฐาน ว 2.3 ป.5/5 ตระหนักในคุณค่า
                         เชิงประจักษ์                                          ของความรู้เรื่องระดับเสียง
                         ว 2.3 ป.5/2 ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบายลักษณะและ       โดยเสนอแนะแนวทางในการ

                         การเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ                              หลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง
                         ว 2.3 ป.5/3 ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและ
                         การเกิดเสียงดัง เสียงค่อย

                         ว 2.3 ป.5/4 วัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัดระดับเสียง
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21