Page 50 - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
P. 50
50
ี่
ชั้นมัธยมศึกษาปีท 6
ิ
สาระที่ 3 วทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
กลุ่มที่ ตัวชี้วัดระหว่างทาง ตัวชี้วัดปลายทาง
มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี
ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต
และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
1 ว 3.1 ม.6/2 อธิบายหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ว 3.1 ม.6/1 อธิบายการกำเนิด
จากความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับระยะทางของกาแล็กซี และการเปลี่ยนแปลงพลังงาน
รวมทั้งข้อมูลการค้นพบไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ
ว 3.1 ม.6/3 อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซ ี หลังเกิดบิกแบงในช่วงเวลาต่าง ๆ
ทางช้างเผือก และระบุตำแหน่งของระบบสุริยะ พร้อมอธิบาย ตามวิวัฒนาการของเอกภพ
เชื่อมโยงกับการสังเกตเห็นทางช้างเผือกของคนบนโลก ว 3.1 ม.6/7 อธิบายลำดับ
ว 3.1 ม.6/4 อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ โดยแสดง วิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น
การเปลี่ยนแปลงความดัน อณหภูมิ ขนาด จากดาวฤกษ์ และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง
ุ
ก่อนเกิดจนเป็นดาวฤกษ ์ สมบัติบางประการของดาวฤกษ์
ว 3.1 ม.6/5 ระบุปัจจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์ ว 3.1 ม.6/9 อธิบายโครงสร้าง
และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของ ของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ
้
ดาวฤกษ์ พายุสุริยะ และสืบค้นขอมูล
ว 3.1 ม.6/6 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว วิเคราะห์ นำเสนอปรากฏการณ์
และสเปกตรัมของดาวฤกษ ์ หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับผล
ของลมสุริยะ และพายุสุริยะที่มี
ว 3.1 ม.6/8 อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะ และการ ต่อโลก รวมทั้งประเทศไทย
แบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ และลักษณะของดาวเคราะห์
ที่เออต่อการดำรงชีวิต
ื้
2 - ว 3.1 ม.6/10 สืบค้นข้อมูล อธิบาย
การสำรวจอวกาศ โดยใช้กล้อง
โทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่น
ต่าง ๆ ดาวเทียม ยานอวกาศ
สถานีอวกาศ และนำเสนอแนวคิด
การนำความรู้ทางด้านเทคโนโลยี
อวกาศมาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวันหรือในอนาคต