Page 3 - ผลการดำเนินงานการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ปี 2564
P. 3
1
สรุปผลการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดฉะเชิงเทรา
สรุปผลการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดฉะเชิงเทรา
ประจ าปีงบประมาณ 2564
ประจ าปีงบประมาณ 2564
จังหวัดฉะเชิงเทรา / ศูนย์อานวยการป้องกนและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดฉะเชิงเทรา (ศอ.ปส.จ.ฉช.)
ั
โดยนายไมตรี ไตรติลานันท์ ผู้ว่าราชการจังหวัดฉะเชิงเทรา/ผอ.ศอ.ปส.จ.ฉช. ได้ด าเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เพอใช้ในการขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้บรรลุ
ื่
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย และลดระดับความรุนแรงของปัญหาตามยุทธศาสตร์ชาติและน าไปสู่ผลสัมฤทธิ์
“สังคมไทยปลอดภัยจากยาเสพติด” โดยมี 5 มาตรการ ดังนี้ 1) มาตรการความร่วมมือระหว่างประเทศ
2) มาตรการปราบปรามและการบังคับใช้กฎหมาย 3) มาตรการป้องกันยาเสพติด 4) มาตรการบ าบัดรักษายาเสพติด
และ 5) มาตรการบริหารจัดการอย่างบูรณาการ
1. ด้านการป้องกันยาเสพติด
1. ด้านการป้องกันยาเสพติด
CHACHOENGSAO
จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้ด าเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็ก เยาวชน ประชาชน และ
กลุ่มผู้ใช้แรงงานที่มีความเสี่ยงของปัญหายาเสพติดในพื้นที่ ซึ่งมีแนวทางการด าเนินงาน ดังนี้
ุ้
ั
1. การสร้างสร้างภูมิคมกันและป้องกนยาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา เช่น การใช้สื่อการ
เรียนการสอนในการป้องกันปัญหายาเสพติด การสนับสนุนกลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการป้องกันและเฝ้าระวังปัญหา
ยาเสพติด อาทิ แกนน าเยาวชนต่อต้านยาเสพติด การเข้าร่วมกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด จังหวัดฉะเชิงเทรา
ั
มีเป้าหมายในการสร้างภูมิคุ้มกันเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา ศูนย์พฒนาเด็กเล็ก เป้าหมาย 265 แห่ง
ผลด าเนินงาน 111 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 41.89 โรงเรียนที่มีการสอนระดับอนุบาล เป้าหมาย 331 แห่ง
ผลด าเนินงาน 287 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 86.71 โรงเรียนที่มีการสอนถึงระดับชั้น ป.6 เป้าหมาย 325 แห่ง
ผลด าเนินงาน 289 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 88.92 และสถานศึกษาชั้นขยายโอกาส มัธยม อาชีวะ และอดมศึกษา
ุ
เป้าหมาย 145 แห่ง ผลด าเนินงาน 94 แห่งคิดเป็นร้อยละ 64.83
2. การสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติดให้เด็กและเยาวชนนอกสถานศึกษา ให้การช่วยเหลือในกลุ่ม
เด็กและเยาวชนที่ไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษาขั้นพนฐาน ขาดโอกาสทางการศึกษา และไม่ได้ศึกษาต่อไม่มีอาชีพเป็น
ื้
ั
หลักแหล่ง พฒนาองค์ความรู้ให้กับบุคลากรที่ท างานด้านป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ส่งเสริม สนับสนุน
ให้กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมในการท ากิจกรรมป้องกันยาเสพติด โดยจังหวัดได้จัดท าโครงการฝึกอบรมเยาวชนอาสา
รักษาดินแดนต้านภัยยาเสพติด (ย.อส.) จ านวน 1 รุ่น รุ่นละ 100 คน (เยาวชนอายุ 15 – 25 ปี เพศชาย)
3. การสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดกลุ่มผู้ใช้แรงงานและผู้ประกอบการ จังหวัดฉะเชิงเทรา มีการจัดกิจกรรม
ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ ควบคู่ไปกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ดี มีสถานประกอบกิจการที่มี
ระบบป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามเกณฑ์มาตรฐานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ
ดังนี้ ด าเนินโครงการอาสาสมัครแรงงานต้านภัยยาเสพติด เป้าหมาย 594 แห่ง ผลด าเนินงาน 682 แห่ง คิดเป็น
ร้อยละ 114.81 โรงงานสีขาว 20 แห่ง ผลด าเนินงาน 20 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 มยส. เป้าหมาย 15 แห่ง
ผลด าเนินงาน 15 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100
4. การสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติดให้ชุมชนและประชาชนทั่วไป ศอ.ปสจ.ฉช. มีการบูรณาการป้องกันและ
แก้ไขปัญหายาเสพติดติดกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก าหนดเป้าหมายการด าเนินงานจัดระเบียบสังคมในพนที่เสี่ยง การ
ื้
ส ารวจประเมินสถานะหมู่บ้าน รณรงค์และเผยแพร่สื่อประชาสัมพนธ์ เพอสร้างการรับรู้ให้กับประชาชน และ
ื่
ั
ช่วยเหลือประชาชนที่เสี่ยงต่อการเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด โดยจังหวัดฉะเชิงเทรามีเป้าหมายจัดระเบียบสังคม
ิ
ื้
ในพนที่เสี่ยง เช่น สถานบริการ สถานประกอบการ โต๊ะสนุกเกอร์ หอพก/ร้านเกม/ร้านอนเตอร์เน็ต เป้าหมาย 147 แห่ง
ั
ผลด าเนินงาน 147 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 100 และการแก้ไขปัญหาหมู่บ้าน/ชุมชน และเสริมสร้างความเข้มแข็ง