Page 50 - แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2566-2570
P. 50

35




                     ทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ควบคู่กับปลูกฝังความ

                     เป็นคนดี มีวินัย โดยดำเนินโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสมรรถนะการจดการเรียนการสอน

                                                                             ื่
                     สำหรับศตวรรษที่ 21 การพัฒนาปรับปรุงระบบดิจิทัลแพลตฟอร์มเพอการเรียนรู้แห่งชาติ (National
                     Digital Learning Platform) โครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบและการพัฒนา

                     หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา การพัฒนาสมรรถนะ
                                                                                      ั
                                                                                             ื่
                     ครูด้านการสร้างสื่อดิจิทัลเพื่อการจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ การพัฒนาทักษะภาษาองกฤษเพอการสื่อสาร
                     ในศตวรรษที่ 21 เป็นต้น เพื่อส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายระดับแผนย่อย (Y1) การพัฒนาช่วงวัยเรียน/

                     วัยรุ่น “วัยเรียน/วัยรุ่น มีความรู้และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถ้วน รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้
                                                                                ้
                     มีสำนึกพลเมือง มีความกล้าหาญทางจริยธรรมมีความสามารถในการแกปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และ
                     ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีขึ้น”

                                      2.2.3) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ 3.4 การพัฒนาและยกระดับศักยภาพ
                     วัยแรงงาน

                                            •  แนวทางการพัฒนา

                                          ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะของคนในช่วงวัยทำงานให้มี
                     คุณภาพมาตรฐานสอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบุคคลและความต้องการของตลาดงาน รวมทั้ง

                     เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อสร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจและผลิตภาพเพิ่มขึ้นให้กับประเทศ

                                            •  เป้าหมายของแผนย่อย
                                          แรงงานมีศักยภาพในการเพิ่มผลผลิต มีทักษะอาชีพสูง ตระหนัก

                     ในความสำคัญที่จะพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ สามารถปรับตัวและเรียนรู้สิ่งใหม่ตามพลวัต

                     ของโครงสร้างอาชีพและความต้องการของตลาดแรงงานเพิ่มขึ้น

                                            •  การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ
                                          สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน

                     พัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ ผ่านประสบการณ์ตรงจากการ  ลงมือปฏิบัติ ควบคู่กับการ
                     เรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการพัฒนาทักษะแรงงานให้มีความรู้ พัฒนาต่อยอด

                     ความรู้ในการสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ มีโอกาสและมีทางเลือกในการทำงานและสร้างงาน พร้อมทั้ง

                     สร้างทักษะทางวิชาชีพต่าง ๆ โดยสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัย
                                                                                                 ั
                     หรือ กศน. มีหน้าที่หลักในการจัดทำหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

                     ประสานความร่วมมือและความช่วยเหลือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนทั้งในและ

                     ต่างประเทศ ได้จัดทำโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนนอกระบบที่
                     เชื่อมโยงกับมาตรฐานอาชีพ/มาตรฐานฝีมือแรงงาน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป็นต้น ซึ่งจะ

                     ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายระดับแผนย่อย (Y1) การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน





                      ---------------------------------------------------------------------------------
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55