Page 93 - แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ.2566-2570
P. 93

78




                                                                          ั
                                                                                            ื่
                                     5) พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็นเกษตรกรอจฉริยะในยุคดิจิทัลเพอปรับเปลี่ยน
                     สู่การ ผลิตเกษตรสมัยใหม่ โดยการถ่ายทอดและสนับสนุนเทคโนโลยีทางการเกษตรให้แก่เกษตรกร

                     ควบคู่กับการใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลในการวางแผนการปรับเปลี่ยน
                     กระบวนการผลิตสินค้าที่ สอดคล้องกับความต้องการของตลาด

                                                       ี
                                   2. บริหารจัดการน้ำให้เพยงพอเพอรองรับการพฒนาเมืองและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
                                                             ื่
                                                                        ั
                                                                                        ค่าเป้าหมาย
                               ตัวชี้วัด                      ค่าฐาน
                                                                                       2566 - 2570
                      ประชากรที่ประสบภัยพิบัติ   ประชากรที่ประสบภัยพิบัติ เฉลี่ยปี   ประชากรที่ประสบ
                      ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ     2560-2562 ร้อยละ 2.8 ต่อปี          ภัยพิบัติ ไม่เกินร้อยละ

                      (ร้อยละ)                  (รายงาน HAI)                        2.8 ต่อปี

                                      1) จัดหาแหล่งน้ำและขยายพื้นที่ชลประทานในพื้นที่ที่มีศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
                     เพื่อ รองรับการเติบโตของเมืองและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ พร้อมกับนําเทคโนโลยีสมัยใหม่มา

                     ประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพ และพัฒนาระบบส่งและกระจายน้ำให้มี

                     ประสิทธิภาพและทั่วถึง ขยายผลโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ และโคกหนองนาโมเดล เพื่อให้
                     เกษตรกรรายย่อยสามารถทำการเกษตรได้ตลอดปี

                                      2) บริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการเชิงลุ่มน้ำทั้งระบบเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัย

                     และ ภัยแล้ง โดยดำเนินการในระดับลุ่มน้ำให้มีความสมดุลระหว่างการใช้น้ำทุกกิจกรรมกับปริมาณ
                     น้ำต้นทุน รวมทั้งพัฒนาแหล่งน้ำเดิมและแหล่งน้ำธรรมชาติที่เสื่อมโทรมหรือตื้นเขิน เพอเพมปริมาณ
                                                                                               ิ่
                                                                                            ื่
                     การเก็บกักน้ำ บูรณาการการทำงานของหน่วยงานต่าง ๆ และให้ประชาชนมีส่วนร่วมที่มีความโปร่งใส
                     และตรวจสอบได้ เพื่อให้การใช้น้ำมีประสิทธิภาพ และมีการจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำทั้งในระยะ

                     เร่งด่วนและระยะยาวเพื่อป้องกัน ความเสียหายจากอุทกภัยและภัยแล้ง

                                      3) การจัดการคุณภาพน้ำในลำน้ำสาธารณะให้สามารถใช้ประโยชน์ในการผลิต
                     และ การพัฒนาเมือง โดยส่งเสริมให้มีระบบบําบัดน้ำเสียรวมชุมชนในพื้นที่เมืองตามแนวลำน้ำ

                     สาธารณะ อาทิ ลำตะคองตอนล่าง ส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมและประชาชนมีบทบาทและส่วนร่วม
                     ในการเฝ้าระวังและรักษา คุณภาพน้ำ
















                      ---------------------------------------------------------------------------------
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98