Page 111 - เมืองลับแล(ง)
P. 111
บรรณานุกรม
การแต่งตั้งขุนนางไทยในสมัยรัชกาลที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๑๑ – ๒๔๒๙. กรุงเทพฯ : กองหอจดหมายเหต ุ
แห่งชาติ กรมศิลปากร. ๒๕๒๑.
ี
ขวัญเมือง จันทโรจน. ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของหัวเมืองฝ่ายเหนือในสมัย
รัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๓๙๔. วิทยานิพนธ์ภาควิชาประวัติศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ๒๕๓๔.
เฉลิม อินทชัยศรี. คนดีเมืองลับแล ชีวประวัติของพระศรีพนมมาศ ผู้ว่าราชการเมืองลับแล.
๒๕๑๙.
จดหมายเหตุ รัชกาลที่ ๓ เล่ม ๕. กรุงเทพฯ : กองหอสมุดแห่งชาติ. ๒๕๓๐.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชหัตถเลขา คราวเสด็จมณฑลฝ่ายเหนือ ใน
รัชกาลที่ ๕. เจ้าจอมมารดาโหมด ป.จ. รชกาลที่ ๕ พมพในงานฉลองอายครบ ๖๐ ทัศ.
์
ุ
ั
ิ
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไท. ๒๔๖๕.
จดหมายเหตุ รัชกาลที่ ๓ เล่ม ๔ หน้า ๒๘ (ฉบับ พ.ศ. ๒๕๓๐) จ.ศ. ๑๒๐๔ เลขที่ ๘
์
่
หนังสือพระยามหาอำมาตยถึงพระยาเพชรบูรณ์เรืองให้สืบข่าวจับครอบครัวเลกซึ่ง
หลบหนี
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. การเสด็จตรวจราชการหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๑ – ๑๒๗
(พ.ศ. ๒๔๓๕ – ๒๔๕๑). กรุงเทพฯ : สถาบันดำรงราชานุภาพ, ๒๕๖๐.
___________. เที่ยวตามทางรถไฟ พ.ศ. ๒๔๐๕-๒๔๘๖. พิมพ์ครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร,
๒๕๕๗.
___________. ทำเนียบหัวเมือง ป. ๗๓๙ เอกสารรายชื่อเมืองและตำแหน่งในพระราชอาณาจักร
สยาม พุทธศักราช ๒๔๓๙.
ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี. เชียงใหม่ : ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ และ
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏเชียงใหม่. ๒๕๓๘.
ทิพากรวงศ์, เจ้าพระยา (ขำ บุนนาค). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑. พิมพ์ครั้ง
ที่ ๖. กรุงเทพฯ : กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๓๑.
ทิพากรวงศ์, เจ้าพระยา (ขำ บุนนาค). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๔. พิมพ์ครั้ง
ที่ ๔. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๐๗.
ทิว วิชัยขัทคะ. ประวัติพระยาพิชัยดาบหัก ต้นสกุล ‘วิชัยขัทคะ’. พ.ศ. ๒๕๓๒.
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๙๙