Page 128 - เมืองลับแล(ง)
P. 128
คำอ่านปริวรรต : เจาเหนิอหวแว้วรังกองหานไพรบชาวชคราวได้ชาวชคราวมาหันแล
คำอ่าน : “เจ้าเหนือหัว(พระเจ้าติโลกราช)แว่วังกองหานไปรบชาวชคราวได้ชาวชคราวมาหั้นแล”
ที่มา : พบที่วัดพระงาม อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
้
ี่
้
ี่
ความสำคัญ : ใบลานทจารดวยภาษาลานนา พบคำว่า “ชาวชคราว”คำว่า ชะคราว ซึ่งเป็นคำทปรากฏใน
ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ นายนิพัทธพงศ์ พุมมา ได้ให้ข้อมูลในบทความ “ชากังราวไม่ใช่กำแพงเพชร เมืองชา
้
ี่
ี
็
กังราวอยู่ทไหน” ว่าหากเปรียบเทียบกับรูปคำ “ชากังราว” เปนคำบาล ออกเสียงแบบลานนาว่า “ซา - กะ -
็
้
ราว / ชา - คะ - ราว” ซึ่งจะเปน “ชาคราว” / ชาวกราว” ได และรูปคำ “ชากังราว / ซากะราว / ชะคราว”
ี
ื่
ี
ั
ยังพ้องเสยงกับชอเมือง “ซาก” หรือข้อมูลอาจารย์พิเศษ เจยจนทร์พงษ์ นักประวัตศาสตร์ ไดให้ข้อมูลและ
้
ิ
ี่
ู้
้
ั
์
อ้างถึงอาจารย์จำปา เยื้องเจริญ ผเชยวชาญทางดานภาษามอญโบราณ ไดแยกศพทจากคำว่า “ ชา ” ใน
้
ั
้
็
่
็
ภาษามอญเขียนกลำเปน “ ผชา ” มีตัว “ ผ ” ตว “ ช ” กลำกันอยู่ แตในเวลาพูดออกมาเปน “ชา” เลย
้
ซ้ำ คำว่า “ชา” แปลว่า ตลาด + “กัง” แปลว่า ด่าน + “ราว” แปลว่า หนทาง ดังนั้น “ชากังราว” ก็คือ เมือง
ด่าน ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยตลาดและหนทางซึ่งอาจเป็นชุมทางการค้า
เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
หน้า ๑๑๖