Page 34 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 34

การปรากฏขึ้นอย่างชัดเจนของนามเมือง ‘ลับแล’


                                                                                                     ั่
                                                                                         ี
                                                                                    ุ
                       ในรชกาลของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ส่งคณะราชทูตไปกรงปารส ประเทศฝรงเศส
                          ั
               เมื่อ พ.ศ. ๒๒๒๙ (ค.ศ. ๑๖๘๖) ในคณะราชทูตที่นำโดยพระวิสุทธสุนทร (ปาน) ในคราวนนได้ราง
                                                                                                       ่
                                                                                                  ั้
                                           ุ
                                               ี
                                                 ุ
                                                       ื่
               คำถามและคำตอบเกี่ยวกับกรงศรอยธยาเพอตอบคำถาม เรยกว่า “คู่มือตอบคำถามสำหรับทูต”
                                                                      ี
                  ื
                                                                  ิ
               หรอ “คู่มือทูตตอบ” ซึ่ง ไมเคิล  ไรท์ ไดเผยแพรลงในนตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับมีนาคม ๒๕๔๘
                                                            ่
                                                     ้
                           ื่
                                         ์
               ในบทความเรอง “ภูมิศาสตร-ประวัติศาสตร์สยาม : เอกสารชั้นต้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์ ที่เปิดเผย
                              9
               ใหม่ (ตอนที่ ๒)”

               ข้อความดังกล่าวปรากฏในตอนที่กล่าวถึงหัวเมืองฝ่ายเหนือของราชอาณาจักรอยุธยาดังน  ี้
                       “(๗๒๓) หากถามว่า สยามมีประชาชนหนาแน่นไหม ?
               ให้ตอบว่า ประชาชนหนาแน่นมากและมีชาวต่างชาติมาจากทุกประเทศ
                       หากถามว่า สยามมีประเทศราชอะไรบ้าง อาณาจักรไหนบ้างอยู่รอบข้าง ?
               ให้ตอบว่า เมืองเหนือประกอบด้วย ๘ แคว้น คือ (๑) แคว้นพิษณุโลก (Porcelouc), (๒) แคว้นสวรรค

               โลก, (๓)แคว้นสุโขทัย, (๔) แคว้นกำแพงเพชร, (๕) แคว้นราชสีมา, (๖) แคว้นเพชรบูรณ์ และ (๗)
               แคว้นพิชัย [ข้อมูลต้นฉบับหายไป ๑ แคว้น]

                       จากข้อมูลของเมืองบรวารของเมืองพชย มีเมืองรอง ๗ เมือง คือ เมืองบางโพ, เมืองฝาง,
                                                         ิ
                                                           ั
                                            ิ
               เมืองลับแล, เมืองพพฒน, เมือง Ppateboune (ปัตบูร), เมือง Trevantri Soune (ตรอนตรสินธุ์), เมือง
                                                                                               ี
                                  ิ
                                    ั
                                                           ี้
                                                                                               ื่
                                          ิ
                                                  ์
               Phiboune Patthiimme (เมืองพมูลพฒน) ข้อมูลนเองทำให้ทราบว่ามีการปรากฏขึ้นของชอเมือง “ลับ
                                               ั
                                                                                                    ่
               แล” อย่างเป็นทางการในเอกสารทางประวัติศาสตร์ ซึ่งหากจะกล่าวว่าเมืองลับแลปรากฏขึ้นอยางเป็น
                                                                                   ู่
               ทางการเมื่อใด คงเกิดขึ้นในช่วงก่อน พ.ศ. ๒๒๒๙ ไม่เชนนนคงไม่อาจที่จะอยในข้อมูลของคณะราชทูต
                                                                ่
                                                                   ั้
               ได้
















                       9  https://www.silpa-mag.com/history/article_8657

                                          เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
                                                        หน้า ๒๒
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39