Page 48 - หนังสือเมืองลับแล(ง)
P. 48

บทบาทเมืองลับแลสมัยอยุธยาตอนปลาย



                                               ุ
                       ใน เอกสารคำให้การชาวกรงเก่า (โยธยายาสะเวง) กล่าวถึง เหตุการณ์เมื่อครั้งยกทัพไปรบกับ
                                ั
                      ี
               เมืองเชยงใหม่ในรชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เสด็จประทับแรมตามระยะทางโดยลำดับเมือง
               และตำบล ๓๔ แห่ง จนถึงเมืองเชียงใหม่ ปรากฏชื่อเมืองในเขตจังหวัดอุตรดิตถ์ คือ เมืองพิไชย เมือง

                    ั้
                                                                  ี้
                                                           ุ
               ทุ่งยง เมืองวังโพ (บางโพ) เมืองลับแล  เหตการณ์นตรงกับ พ.ศ. ๒๒๐๓ แตกตางจาก พระราช
                                                     10
                                                                                           ่
                                                                                   12
                                                             11
                                            ั
                            ุ
                                  ุ
                                                                                ั
                                                                                   ์
               พงศาวดารกรงศรีอยธยา ฉบับพนจันทนุมาศ (เจิม)  และ ฉบับพระพนรตน  ที่กล่าวว่า สมเด็จพระ
                                                          ุ
                                                                 ุ
               นารายณ์มหาราชเสด็จยกทัพหลวงจากกรงศรอยธยาไปตงทัพหลวงที่เมืองพษณุโลก เป็น
                                                              ี
                                                                          ั้
                                                                                             ิ
               กองบัญชาการทัพแล้วให้พระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) เป็นแม่ทัพคุมพลไปรบเมืองเชยงใหม่ผ่านทางเมือง
                                                                                       ี
               สุโขทัย เมืองเถิน เมืองนครลำปาง จนถึงเมืองเชียงใหม่
                                                                                          ่
                       แม้ว่า พระราชพงศาวดารไม่ได้กล่าวถึงการยกทัพผ่านบรเวณเมืองลับแล แตก็เป็นไปได้ที่อาจมี
                                                                         ิ
                                                                                              ั
                                                                                                  ุ
                                                     ิ
                                                                 ื
               การรวบรวมไพร่พลจากหัวเมืองเหนอ (บรเวณภาคเหนอตอนล่าง) เพื่อเป็นกองกำลังสนบสนนในการ
                                                ื
               รบที่เมืองเชียงใหม่
                                                      ์
                                                                                   ี้
                                                                                ั้
                       แตใน ตำนานพระเจ้ายอดคำทิพย ได้กล่าวถึงเหตการณ์ในครงนว่า เมื่อยกทัพมาถึงเมือง
                         ่
                                                                     ุ
                                                                       ั้
                                                                          ั้
                                                  ั้
                 ิ
               พษณุโลกได้ ๒๐ วัน ได้นำพลศกมายงที่เวียงลับแลงไจย ครงนนสมเด็จพระนารายณ์ได้ถวายเงิน
                                             ึ
               ๑๐๐๐ เพื่อบูรณะพระวิหารวัดบุปผารามสวนดอกไม้สัก (วัดดอนสัก) แล้วเสด็จสรงนำพระเจ้ายอดคำ
                                                                                           ้
                                   13
               ทิพย์ วัดลับแลงหลวง  [แต่บริบททางสถาปัตยกรรมของวิหารวัดดอนสักน่าจะเกิดขึ้นภายหลัง ซึ่งจะ
               กล่าวต่อไป]

                                                 ่
                                                            ิ
                       จากประวัตการบูรณะวิหารรมพระแท่นศลาอาสน เมืองทุ่งยง ที่ระบุใน จารกพระวิหารพระ
                                                                    ์
                                                                                           ึ
                                 ิ
                                                                             ั้
                     ิ
               แท่นศลาอาสน ให้ข้อมูลว่า พระยาสวรรคโลก ผู้มีเชื้อสายฝ่ายปู่เป็นพระเจ้าเชยงตง ฝ่ายยาเป็นบุตร
                                                                                      ี
                             ์
                                                                                                 ่
                                                                                          ุ
               เจ้าฟ้าเมืองไลค่าผู้ครองเมืองนครลำปาง ฝ่ายตาเป็นบุตรพญาแมนผู้ครองเมืองเชียงใหม่ เมื่อครั้ง พ.ศ.
                                                                               ้
                                                                                                        ู่
               ๒๒๐๓ ที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชยกทัพไปเมืองเชยงใหม่ไดกวาดตอนผู้คนชาวล้านนาลงมาอยที่
                                                                         ้
                                                                ี
                                                            ุ
                     ี
                                                                                            ั
                                   ้
                  ุ
                                    ั
                                                                                                     ั
               กรงศรอยุธยา และไดรบราชการในพระนครศรีอยธยา กระทั่งเมื่อ พ.ศ. ๒๒๘๙ อ้ายนกโสมตั้งตวเป็น
               ใหญ่ในเมืองล้านช้างแล้วยกทัพเข้ามาถึงเมืองลพบุรี ครั้งนั้นหลวงทรงพลจึงอาสาไปรบกับนักโสมจนมี

                       10  คำให้การชาวกรุงเก่า. หน้า ๑๐๓.
                       11  พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). หน้า ๓๐๖ – ๓๑๐.
                       12  พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพระพนรัตน์. หน้า ๒๑๑ – ๒๑๓.
                                                           ั
                                                     ิ
                                                       ์
                       13  วรรณกรรมตำนานพระเจ้ายอดคำทพย มีปจฉิมความจบเพียงเท่านี้ โดยระบุว่าพระสุวรรณปัญญาญาณ
               ได้เป็นผู้ประพันธ์ไว้ที่วัดลับแลงหลวง
                                          เมืองลับแล(ง) ประวัติศาสตร์และข้อค้นพบใหม่
                                                        หน้า ๓๖
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53